ผลการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะและเทคนิคทีจีทีที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนวิทยาศาสตร์และความสามารถในการทำงานกลุ่ม ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5/1 โรงเรียนเทศบาล 4 (เพาะชำ) -
Main Article Content
บทคัดย่อ
The purposes of this research were (1) to compare the scientific learning achievement of Grade 5 (Prathomsuksa 5/1) students before and after the class by applying the inquiry process with TGT technique, (2) to compare the scientific learning achievement of Grade 5 (Prathomsuksa 5/1) students after the class by applying the inquiry process with TGT technique with 70 percent criterion, (3) to study the ability to work in a team of Grade 5 (Prathomsuksa 5/1) students after the class by applying the inquiry process with TGT technique. The samples were 33 of the students from a total of 3 classrooms, who studied in Grade 5 (Prathomsuksa 5/1) of 2018 at Tedsaban 4 (Phaochum), Mueang, Nakhon Ratchasima by using cluster random. The experimental tools used in this research were the inquiry process with TGT technique plan evaluated by the rating scale based on the Likert method with averages of 3.51 and above. The scientific learning achievement test was evaluated with difficulty between 0.40-0.80 and the power rating between 0.25-0.88 obtaining the confidence value of 0.74 by using Kuder-Richardson's KR.20. The observation methods to find out group work ability form were evaluated by using t-test. It was found that the discrimination power was between 0.16-0.21 and the whole confidence value was equal to 0.997. The statistical methods used to analyze the data were percentage, mean, standard deviation and t-test (Dependent Group and One-Sample). The findings revealed that:
- The scientific learning achievement obtaining from post-test of Grade 5 (Prathomsuksa 5/1) students after the instruction of applying the inquiry process with TGT technique was that the average score was significantly higher than the pre-test at the level of .05.
- The scientific learning achievement obtaining from post-test of Grade 5 (Prathomsuksa 5/1) students after the instruction of applying the inquiry process with TGT technique was that the average score was higher than 70 percent.
- The ability to work in a team of Grade 5 (Prathomsuksa 5/1) students after the class by applying the inquiry process with TGT technique was that the average was 2.34 scores, of 3 scores which was at a high level.
Article Details
อยู่ระหว่างการปรับปรุง (ลิขสิทธิ์และการรับผิดชอบ)
References
นันทนา หอมหวน และคณะ, “ความสามารถทางพหุปัญญาด้านตรรกะคณิตศาสตร์และด้านมิติสัมพันธ์ของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดประสบการณ์ทางวิทยาศาสตร์ ตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์,” วารสารวิชาการศึกษาศาสตร์ คณะศึกษาศาสตร์, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, ปีที่ 17 ฉบับที่ 1 : หน้า 35-46, 2559.
กุลยา ตันติผลาชีวะ, การจัดกิจกรรมการเรียนรู้สำหรับเด็กปฐมวัย, กรุงเทพฯ : เอดิสันเพรส โปรดักส์, 2547.
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.), การจัดสาระการเรียนรู้กลุ่มวิทยาศาสตร์ หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน, กรุงเทพฯ : สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, 2546.
นิสิตปริญญาเอก, “การพัฒนาความสามารถในการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์ของครูระดับประถมศึกษา,กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2556.
ทิศนา แขมมณี, ศาสตร์การสอน องค์ความรู้เพื่อการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ, พิมพ์ครั้งที่ 14, กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2554.
ไสว ฟักขาว, หลักการสอนสำหรับการเป็นครูมืออาชีพ, กรุงเทพฯ : เอมพันธ์, 2544.
วิเชียร เกตุสิงห์, “ค่าเฉลี่ยและการแปลความหมาย,” ข่าวสารวิจัยทางการศึกษา, ปีที่ 18 ฉบับที่ 3 หน้า 8-11, 2538.
วาชินี บุญญพาพงศ์, “การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง พืชและสัตว์ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์ของนักเรียนประถมศึกษาปีที่ 5 จากการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้,” วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน, มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา, 2552.
ณัชชากัญญ์ วิรัตนชัยวรรณ, “ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้เทคนิคการสืบเสาะหาความรู้ (5E) เพื่อพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ จิตวิทยาศาสตร์และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6,” วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน, มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย, 2555.
เสวียน ประวรรณถา, “การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้ด้วยกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ เรื่อง การดำรงชีวิตของพืช กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4,” วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน, มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม, 2553.