EQ: ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารที่ส่งผลต่อประสิทธิผลการจัดการคุณภาพโดยรวมอันนำไปสู่วัฒนธรรมแห่งคุณภาพในสถาบันอุดมศึกษา

Main Article Content

ภัทร์ธมณฑน์ เรืองวิทยาวุฒิ

บทคัดย่อ

บทความนี้เรียบเรียงข้อเขียนโดยมีวัตถุประสงค์เพื่ออธิบายถึงความสำคัญของ EQ: ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารที่ส่งผลต่อประสิทธิผลการจัดการคุณภาพโดยรวมอันนำไปสู่วัฒนธรรมแห่งคุณภาพในสถาบันอุดมศึกษา เพื่อให้มีภาพลักษณ์ที่ดีในด้านคุณภาพการจัดการศึกษา การให้บริการที่ดี ทุกคนทำงานร่วมกันได้อย่างมีความสุขในสภาพแวดล้อมสภาวการณ์ที่เต็มไปด้วยการแข่งขันที่สูงท่ามกลางปัญหาวิกฤติห้องเรียนร้าง และเพื่อให้สอดคล้องกับทิศทางการจัดการศึกษาระดับอุดมศึกษาตามสภาพแวดล้อมทางการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21   ที่ผู้บริหารและบุคลากรทุกระดับต้องสร้างความเชื่อมั่นให้กับสังคม สามารถตอบโจทย์ความต้องการของผู้เรียน และการเปลี่ยนแปลงของตลาดแรงงานในยุคดิจิทัลได้

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

1. กระทรวงศึกษาธิการ. (17 สิงหาคม 2561). ประกาศเรื่องมาตรฐานการอุดมศึกษา พ.ศ. 2561. สืบค้นจาก http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2561/E/199/T19.PDF Website

2. Edward Sallis, Total Quality Management in Education, 3rd ed. 2002.

3. สํานักงานการบินไทยหลานหลวง, การประชาสัมพันธ์ ภายในองค์กร, โพสต์ทูเดย์, 22 กุมภาพันธ์ 2558, หน้า 8.

4. Incquity. (29 กันยายน 2562). สืบค้นจากhttps://reg8.pwa.co.th/webkm/?p=290Website.

5. William G. Ouchi หรือ Ouchi’s Theory Z (29 กันยายน 2562). สืบค้นจาก http://www. anderson. ucla.edu/ Website.
6. Wayne K. Hoy and Cecil G. Miskel (2005, p. 374 - 419).

7. Joiner Michael Walton, Managing yourself on an off the ward (London : Blackmail Science Ltd, 1987

8. 4 องค์กรแถวหน้า โมเดลสู่ความเป็นเลิศ.ผู้จัดการรายสัปดาห์. (4 พฤศจิกายน 2548). สืบค้นจาก info.gotomanager.com Website

9. กลยุทธ์สื่อดิจิตอลสร้างกำไรของ Starbuck (2เมษายน 2560). สืบค้นจาก hu.ac.th/Conference/conference2014/proceedings/data/3403/3403-3.pdf Website.

11. สำนักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์(องค์การมหาชน) หรือ ETDA (เอ็ตด้า)