คุณภาพของการให้บริการสายการบินภายในประเทศของผู้รับบริการชาวไทย ในช่วง COVID-19

Main Article Content

วิภาดา มุกดา
ราเชนทร์ บุญลอยสง

บทคัดย่อ

บทความวิชาการ เรื่อง คุณภาพของการให้บริการสายการบินภายในประเทศของผู้รับบริการชาวไทยในช่วง COVID-19 มีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอ การศึกษา คุณภาพการให้บริการของสายการบินและการปรับตัวของธุรกิจการบินในช่วงโควิด 19 ซึ่งพบว่า คุณภาพการบริการของสายการบินภายในประเทศควรต้องรักษามาตรฐานของการให้บริการให้อยู่ในระดับที่ดีมีประสิทธิภาพ ควบคุมดำเนินการตามมาตรฐานสาธารสุข เช่น  การเว้นระยะห่าง การจัดแอลกอฮอล์เจลให้ผู้โดยสารล้างก่อนขึ้นอากาศยาน ทำความสะอาดห้องน้ำอย่างต่อเนื่องและให้ผู้ใช้บริการปฏิบัติตามมาตรการสาธารณสุขอย่างเคร่งครัด หากไม่ปฏิบัติตามให้ผู้ใช้บริการออกจากพื้นที่เพื่อรักษาความปลอดภัยและคุณภาพของการบริการไม่ให้เกิดความผิดพลาด ส่วนสภาพภายในเครื่องบินควรมีความสะอาดเรียบร้อยในห้องโดยสารและสิ่งอำนวยความสะดวกต่าง ๆ ควรปรับปรุงให้ได้มาตรฐานเพื่อรักษาคุณภาพการบริการและสร้างแรงจูงใจให้กับผู้รับบริการชาวไทยในช่วง COVID-19 ได้

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

กรณฐพรครองภพ สท้านไตรภพ, ธนกร สิริสุคันธา, สุทธินันท์ พรหมสุวรรณ. (2560). ความสัมพันธ์ของคุณภาพบริการ การรับรู้คุณค่า ภาพลักษณ์สายการบินและความพึงพอใจของลูกค้าที่ส่งผลต่อการตั้งใจซื้อบริการสายการบินต้นทุนต่ำในประเทศไทย. วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา, 12(2). 139.152.

จำรอง เงินดี. (2550). การสำรวจความรู้ความเข้าใจและการรับรู้ข้อมูลข่าวสารของประชาชนที่มีต่อสำนักงานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค (สคบ.). กรุงเทพฯ: สถาบันวิจัยและพัฒนาแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

ชไมพร วดีศิริศักดิ์. (2552). ความคาดหวังและความพึงพอใจของประชาชนที่มีต่อบทบาทตามนโยบายการพัฒนาของเทศบาลตำบล ท่าอุดม อำเภอท่าอุเทน จังหวัดนครพนม. วิทยานิพนธ์. สกลนคร: มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร.

ฐิติพงศ์ วรธรรมทองดี. (2558). คุณภาพบริการบนเครื่องบินของการบินไทยมีความสัมพันธ์กับแนวโน้มพฤติกรรมการใช้บริการของผู้โดยสาร. สารนิพนธ์. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

ณรงค์ชัย สุวรรณ์. (2551). ความพึงพอใจและความคาดหวังของสมาชิกที่มีต่อการให้บริการสหกรณ์ออมทรัพย์ กรณีศึกษา สหกรณ์ออมทรัพย์ตำรวจตระเวนชายแดนที่ 32 จำกัด. การศึกษาอิสระ. เชียงราย: มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย.

ณัฐกาณต์ ชินวงศ์อมร. (2558). กลยุทธ์คุณภาพการให้บริการสายการบินที่ส่งผลต่อการตัดสินใจเลือกใช้บริการสายการบินระหว่างประเทศ ณ ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ. การค้นคว้าอิสระ. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.

ดุจฤดี อ้วนคำ. (2554). ความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้ความสามารถของครูกับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระดับชาติของผู้เรียน ในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาในจังหวัดเลย. วิทยานิพนธ์. เลย: มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย.

ทนุพร สุขสวัสดิ์. (2553). พฤติกรรมการเลือกใช้บริการสายการบินต้นทุนต่ำของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร[ข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์. วิทยานิพนธ์. พิษณุโลก: มหาวิทยาลัยนเรศวร.

ทศพร ปริกเพ็ชร. (2552). สภาพความพร้อมและความคาดหวังในการบริหารจัดการงานสาธารณสุขขององค์การบริหารส่วนตำบล จังหวัดน่าน. วิทยานิพนธ์. อุตรดิตถ์: มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์.

ธนกร ณรงค์วานิช. (2563). อุตสาหกรรมการบินจะผ่านไปอย่างไรกับโควิด 19. กรุงเทพฯ : บริษัท ท่าอากาศยานไทย จํากัด (มหาชน).

ธนวรรธ ตั้งสินทรัพย์ศิระ. (2550). Organizational Behavior. กรุงเทพฯ : ม.ป.พ..

ธีรพันธ์ สงวนวงศ์และคณะ. (2560). การรับรู้คุณภาพการบริการของผู้โดยสารภายในประเทศที่มีเคาน์เตอร์เช็คอินสายการบินนกแอร์ ประจำสถานีภูเก็ต. วิทยานิพนธ์. ภูเก็ต: มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต.

เบญชภา แจ้งเวชฉาย. (2559). คุณภาพการให้บริการที่ส่งผลต่อความพึงพอใจของผู้โดยสารรถไฟฟ้า BTS ในกรุงเทพมหานคร. การค้นคว้าอิสระ. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.

ปณัสยา เกติวงศ์. (2550). ความคาดหวังของผู้มารับบริการต่อการให้บริการของฝ่ายการเงินและบัญชี สถาบันสุขภาพเด็กแห่งชาติมหาราชินี กรมการแพทย์กระทรวงสาธารณสุข. วิทยานิพนธ์. พระนครศรีอยุธยา: มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา.

พงษ์พันธุ์ ตระกูลศรีชัย. (2553). การศึกษาทัศนคติและพฤติกรรมของผู้โดยสารชาวไทยที่มีต่อการใช้บริการสายการบินต้นทุนต่ำ กรณีศึกษา : สายการบินไทยแอร์เอเชีย. สารนิพนธ์. พิษณุโลก: มหาวิทยาลัยนเรศวร.

พรพิมล ริยายและคณะ. (2556). ความคาดหวังของนักศึกษาชั้นปีที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ที่มีต่อเนื้อหารายวิชาการศึกษาระดับอุดมศึกษา. จังหวัดเชียงใหม่: สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยนอร์ท-เชียงใหม่.

พัชราวัล พันธศิลาโรจน์. (2551). ปัจจัยที่มีผลต่อการรับรู้. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ดอกหญ้า.

วีระรัตน์ กิจเลิศไพโรจน์. (2557). การตลาดธุรกิจการบริการ. กรุงเทพฯ: บริษัท ซีเอ็ดยูเคชั่น จำกัด (มหาชน).

ศุภลักษณ์ สุริยะ. (2556). แนวทางการพัฒนาคุณภาพการบริการของแผนกต้อนรับส่วนหน้าโรงแรมเพื่อรองรับนักท่องเที่ยวอาเซียน กรณีศึกษา: โรงแรมบูติก กรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์. กรุงเทพฯ: สถาบันบัณฑิต พัฒนบริหารศาสตร์.

สุธิดา ปัททุมและไกรชิต สุตะเมือง. (2556). การรับรู้ต่อการเปิดประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ตามนโยบายของรัฐบาลในกลุ่มประชากรบุคคลวัยทำงาน เขตกรุงเทพมหานคร. วารสารการเงินการลงทุน การตลาดและการบริหารธุรกิจ 3(4), 490-507.

สุพิชญา วงศ์วาสนา. (2563). ปัจจัยที่ส่งผลต่อการตัดสินใจในการเลือกใช้บริการการเดินทางภายในประเทศของผู้สูงอายุในเขตภาคเหนือ การศึกษาเปรียบเทียบระหว่างรถโดยสารประจำทางกับสายการบินต้นทุนต่ำ. กรุงเทพฯ: รายงานวิจัย มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต.

สุภัทรา มิ่งปรีชา. (2550). ความคาดหวังและความพึงพอใจของผู้ใช้บริการแผนกผู้ป่วยนอกต่อคุณภาพบริการของโรงพยาบาลแพร่. วิทยานิพนธ์. อุตรดิตถ์: มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์.

อดิเรก ฟันเขียว. (2557). การยอมรับความคาดหวังและปัจจัยความสำเร็จในการพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษชายแดนในจังหวัดตาก. วารสารเครือข่ายบัณฑิตศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏภาคเหนือ 4(6), 1-14.

อารยา สุขโต. (2563). วิกฤตโควิด-19 กับการปรับตัวของธุรกิจการบิน. สืบค้นเมื่อ 15 สิงหาคม 2564, จาก https://www.parliament.go.th/.

อุบลวรรณา ภวกานันท์และคณะ. (2554). จิตวิทยาทั่วไป. (พิมพครั้งที่ 7). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

Airline Profiler. (2014). Low-Cost Airlines Market Research, International Low-Cost Market Research. Retrieved 2021, June 7, From http://airlineprofiler.eu/2015/10/international-low-cost-airlinemarketresearch.

Antonides, G., & Van Raaij, W. F. (1998). Consumer Behavior: A European Perspective. Chichester: John Wiley and Sons.

Boeing. (2012). Current market outlook 2012-2031. Seattle, WA: Boeing.

Clay, R. (1988). Chambers English Dictionary. Great Britain: Bungay Suffolk Ltd.

Eccles, J. S. (2005). Subjective Task Values and the Eccles et al. Model of Achievement Related Choices. In A. J. Elliot & C. S. Dweck (Eds.), Handbook of Competence and Motivation (pp. 105-121). New York: Guilford.

Etzel, M.J. (2014). Marketing. (12th ed.). New York: McGraw-Hill/Irwin.

Funk and Wagnalls. (1993). Functional and Conflict Theories of Educational Stratification. American Sociological Review. 36(1). 239.

Gronroos, C. (1990). Service Management and Marketing. Massachusetts: Lexington Books. Harris K. Elaine.

Harris, K. E. (2010). Customer Service: A Practical Approach. New York: Prentice Hall

Kim, Y. K., & Lee, H. R. (2011). Customer Satisfaction Using Low Cost Carriers. Tourist Management, 32(2). 235-243.

Kotler, Philip. (2010). Marketing Management. The Millennium ed. Upper Saddle River. New Jersey: Prentice-Hall.

Parasuraman, A., Zeithaml, V. A., & Berry, L.L. (1985). A Conceptual Model of Service Quality and its Implications for Future Research. The Journal of Marketing, 49(4). 41-50.

Parasuraman, A., Zeithaml, V.A., & Berry, L.L. (2013). A Conceptual Model of Service Quality and Its Implications for Future Research. Journal of Marketing, 49. 41-50.

Park, J. W., Robertson, R., & Wu, C. L. (2004). The Effect of Airline Service Quality on Passengers’ Behavioral Intentions: A Korean Case Study. Journal of Air Transport Management, 10(6). 435-439.

Schermerhorn, J. R., Hunt, J. G. & Osborn, R. N. (1982). Managing organizational behavior. New York: John Wiley and Sons.

Schiffman, L. G., & Kanuk, L. L. (2000). Consumer Behavior (7th edition). Upper Saddle River, N.J Prentice Hall.

Vroom, H. V. (1990). Manage People Not Personnel: Motivation and Performance Appraisal. Boston: Harvard Business School Press.

Yang, K. C., Hsieh, T. C., Li, H., & Yang, C. (2012). Assessing how Service Quality, Airline Image and Customer Value Affect the Intentions of Passengers Regarding Low Cost Carriers. Journal of Air Transport Management, 20. 52-53.