การปรับเปลี่ยนทางความหมายของคำยืมภาษาจีน หมวดอาหารและเครื่องดื่มในภาษาไทยกับภาษาจีนกลางปัจจุบัน
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาความหมายของคำยืมภาษาจีนในภาษาไทย หมวดอาหารและเครื่องดื่ม 2) เพื่อศึกษาการปรับเปลี่ยนความหมายของคำยืมภาษาจีนในภาษาไทย หมวดอาหารและเครื่องดื่มเป็นการวิจัยเอกสาร ดำเนินการวิจัยโดยสำรวจ และรวบรวมคำยืมภาษาจีนในภาษาไทยจากหนังสือจีนใช้ไทยยืม ซึ่งเป็นเอกสารรวบรวมคำภาษาไทยที่ยืมมากจากภาษาจีนไว้ 375 คำ โดยอยู่ในหมวดอาหารและเครื่องดื่ม 100 คำ จากนั้นนำคำศัพท์ตัวอักษรจีนสืบหาความหมายภาษาจีนกลางจากพจนานุกรมจีน-จีน และจีน-ไทย จากนั้นค้นหาความหมายภาษาไทยจากพจนานุกรมไทย แล้วนำมาเทียบความหมายเพื่อหาจุดเหมือนหรือจุดแตกต่าง เป็นโดยใช้แนวคิดลักษณะการเปลี่ยนแปลงความหมายของคำยืม 4 ประเภทเป็นเครื่องมือใช้ในการวิเคราะห์การวิจัย
ผลการวิเคราะห์ตามหลักการการปรับเปลี่ยนความหมายของคำยืมภาษาจีนในภาษาไทย หมวดอาหารและเครื่องดื่ม พบว่า คำที่มีความหมายตรงกัน จำนวน 53 คำ คิดเป็นร้อยละ 53 คำที่มีความหมายกว้างกว่า จำนวน 14 คำ คิดเป็นร้อยละ 14 คำที่มีความหมายแคบกว่า จำนวน 23 คำ คิดเป็นร้อยละ 23 และคำที่มีความหมายต่างกัน จำนวน 10 คำ คิดเป็นร้อยละ 10
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
อยู่ระหว่างการปรับปรุง (ลิขสิทธิ์และการรับผิดชอบ)
References
กนกวรรณ พริ้งเพราะ. (2557). การศึกษาวิเคราะห์คำยืมภาษาจีนในภาษาไทย:กรณีศึกษาหนังสือเรื่อง “จีนใช้ไทยยืม”.วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาภาษาจีน.อุลบราชธานี: มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี.
คนึงนิจ ปทมปราณี. (2542). ศึกษาคำยืมภาษาจีนที่ใช้ในภาษาไทยถิ่น ตำบลบ่อยาง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา. วิทยานิพนธ์ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต ภาควิชาภาษาไทย. สงขลา: มหาวิทยาลัยทักษิณ.
เฉลิม ยงบุญเกิด. (2516). ภาษาไทย ภาษาจีน. กรุงเทพฯ :หน่วยศึกษานิเทศก์ กรมฝึกหัดครู.
เธียรชัย เอี่ยมวรเมธ. (2563). พจนานุกรมจีน-ไทย ฉบับใหม่. สำนักพิมพ์รวมสาส์น.
นพดล กิตติกุล. (2534). คำยืมภาษาจีนฮกเกี้ยนที่ใช้ในภาษาถิ่น จังหวัดภูเก็ต. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต ภาควิชาภาษาไทย.กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร.
นวรัตน์ ภักดีคำ. (2554). จีนใช้ ไทยยืม. กรุงเทพฯ. อมรินทร์.
น้ำทิพย์ ภิงคารวัฒน์. (2541). การเปลี่ยนแปลงของภาษา: ภาษาอังกฤษผ่านกาลเวลา. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ปราณี กายอรุณสุทธิ์. (2526). คำยืมภาษาจีนในภาษาไทยปัจจุบัน. วิทยานิพนธ์ปริญญาอักษรศาสตรมหาบัณฑิต ภาควิชาภาษาศาสตร์. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
พิชณี โสตถิโยธิน. (2554). คํายืมภาษาจีนแตจิ๋วในภาษาไทย ปรากฎการณ์ที่วงศัพท์อันเนื่องมาจากกาเปลี่ยนแปลงความหมาย. วารสารจีนศึกษา (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์). 5 (5): 129-162.
รัชตพล ชัยเกียรติธรรม. (2557). การวิเคราะห์และเปรียบเทียบคำยืมภาษาอังกฤษที่ปรากฏในภาษาไทยและภาษาจีน. วารสารภาษาและภาษาศาสตร์, 33(1): 43-61.
เรืองเดช ปันเขื่อนขัติย์. (2531). ภาษาถิ่นตระกูลไทย. พิมพ์ครั้งที่ 2 แก้ไขเพิ่มเติม. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ราชบัณฑิตยสถาน.(2554). พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554. สืบค้นจาก https://dictionary.orst.go.th/.
วิชุดา พรายยงค์ , วิไลศักดิ์ กิ่งคำ. (2556). คํายืมภาษาจีนในวรรณกรรมสมัยกรุงธนบุรี: การศึกษาเชิงสังคมและ วัฒนธรรม. วารสารศึกษาศาสตร์ (มหาวิทยาลัยขอนแก่น). 36(1): 110-119.
Chen, X. (Producer), & Hu, Z. (Director). (2019). Flavorful Origins: Chaoshan Cuisine. China:Retrieved from https://www.netflix.com/th-en/title/80991060.
Duangmanee, K. (He, L.Y.). (2007). Taiyu zhong de Hanyu jieci yanjiu (in Chinese) [Chinese Loanwords in the Thai language] (Master’s thesis). Yunnan Normal University, Kunming
Kiatkirakajorn, U. (Chen, M.J.). (2011). Taiyu zhong de Hanyu jieci yanjiu (in Chinese) [Chinese Loanwords in the Thai language] (Master’s thesis). Huaqiao University, Quanzhou.
Thueangnoi, P. (Zhang, T.). (2018). Taiyu Zhong de Hanyu jieci dui Taiguoren xuesheng xide Hanyu cihui de yingxiang (in Chinese) [Influence of Chinese Loanwords in Thai Students Acquisitions of Chinese Vocabulary] (Master’s thesis). Guangdong University of Foreign Studies, Guangzhou.
Wang, H. (2016). Taiyu Zhong de Hanyu jieci ji qi ciyi bianqian (in Chinese) [Chinese Loanwords in Thai language and its meaning changes] (Master’s thesis). Yunnan University, Kunming.
Zhongguo shehui kexueyuan yuyanyanjiusuo cidian. (2016). Xiandai Hanyu cidian di qi ban (in Chinese) [Modern Chinese Dictionary 7th Edition]. Beijing: The Commercial Press.
Teochew Mogher. (2005). Teochew Dictionary and online learning about Teochew dialect.Retrieved from https://www.mogher.com.
Thai Language. (2020). Romanize an Arbitrary Thai Word. Retrieved from http://www.thai-language.com/?nav=dictionary&anyxlit=1.