แรงจูงใจและสิ่งเสริมแรงในการเพิ่มทักษะเพื่อการประกอบอาชีพ ของผู้สูงอายุวัยก่อนเกษียณ

Main Article Content

สุมนา ลาภาโรจน์กิจ
สุพิชชา เอกอุรุ

บทคัดย่อ

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแรงจูงใจและสิ่งเสริมแรงในการเพิ่มทักษะเพื่อการประกอบอาชีพของผู้สูงอายุวัยก่อนเกษียณ โดยใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพแบบกรณีศึกษาและเก็บข้อมูลโดยการสัมภาษณ์แบบกึ่งโครงสร้างแบบตัวต่อตัวและแบบกลุ่มกับกลุ่มผู้สูงอายุวัยก่อนเกษียณอายุ 50-59 ปี ที่กำลังศึกษาเพิ่มเติมในการเพิ่มทักษะเพื่อการประกอบอาชีพจำนวน 55 คน เป็นสัมภาษณ์ตัวต่อตัวจำนวน 20 คนและสัมภาษณ์กลุ่มจำนวน 35 คน โดยผู้ให้ข้อมูลหลักคัดเลือกจากผู้ที่กำลังเรียนเสริมทักษะในการประกอบอาชีพเพิ่มเติมในสถาบันที่ได้รับการรับรองจากภาครัฐ วิเคราะห์ผลโดยการใช้การวิเคราะห์แก่นสาระ ผลการวิจัยพบว่า แรงจูงใจในการเพิ่มทักษะเพื่อการประกอบอาชีพของผู้สูงอายุวัยก่อนเกษียณ ประกอบด้วย การกำหนดสิ่งต่าง ๆ ได้ด้วยตนเอง การกระทำกิจกรรมต่าง ๆ ด้วยตนเองได้ การมีสัมพันธภาพที่ดีกับผู้อื่น และความกลัวหลังเกษียณ ส่วนสิ่งเสริมแรงในการเพิ่มทักษะของผู้สูงอายุวัยก่อนเกษียณนั้น ประกอบด้วยสิ่งเสริมแรงเชิงสัญลักษณ์ และเชิงอรรถประโยชน์ ซึ่งจะส่งผลต่อพฤติกรรมในการศึกษาเรียนรู้เพื่อเพิ่มทักษะของผู้สูงอายุวัยก่อนเกษียณ ประโยชน์จากการวิจัยนี้สามารถนำมาใช้เพื่อออกแบบหลักสูตรที่ตอบโจทย์กับผู้บริโภคกลุ่มผู้สูงอายุวัยก่อนเกษียณ ตลอดจนออกแบบแนวทางการสื่อสารคุณค่าของหลักสูตรที่สอดคล้องกับความต้องการของผู้สูงอายุวัยก่อนเกษียณได้

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

กรมกิจการผู้สูงอายุ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์. (2564). สังคมผู้สูงอายุในปัจจุบันและเศรษฐกิจในประเทศไทย. สืบค้นเมื่อวันที่ 20 กรกฎาคม 2565, สืบค้นจาก https://www.dop.go.th/th/know/15/926.

เดชา จันทร์ศิริ วีรชัย สิงห์คา และทรงสิทธิ์ สอนรอด (2563). การพัฒนาสภาพแวดล้อมเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงานสำหรับแรงงานผู้สูงวัยในสถานประกอบการ. วารสารสังคมศาสตร์มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราช-มงคลตะวันออก, 9(1), 50-59.

เทียนแก้ว เลี่ยมสุวรรณ ผ่องพรรณ ตรัยมงคลกูล สิรีรัตน์ เชษฐสุมน และสุภาภรณ์ สงค์ประชา (2558). การจัดกลุ่มผู้สูงอายุและการศึกษาความต้องการสวัสดิการในตำบลโคกขี้หนอน อำเภอพานทอง จังหวัดชลบุรี. วารสารเกษตรศาสตร์ (สังคม), 36(1), 16-33.

นงนุช สุนทรชวกานต์. (2556). แนวทางการปรับปรุงกฎหมายเพื่อการขยายโอกาสของผู้สูงวัย. วารสารนักบริหาร, 33(3), 39-46.

ประนอม โอทกานนท์, (2554) ชีวิตที่สุขสมบูรณ์ของผู้สูงอายุไทย หลักการ งานวิจัย และบทเรียนจากประสบการณ์. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

พงพันธ์ แจ่มสว่าง (2563). ความต้องการทำงานหลังเกษียณอายุราชการของข้าราชการทหาร. วารสารสถาบันวิชาการป้องกันประเทศ, 11(3), 93-106.

วรากร ทรัพย์วิระปกรณ์ และ ทรงวุฒิ อยู่เอี่ยม. (2008). แรงจูงใจในงานที่มีผลต่อความผูกพันในงานของอาสาสมัคร สาธารณสุข, วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา, 19(2), 59-74.

สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา (2561). หลักสูตรอาชีวศึกษา. สืบค้นเมื่อวันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2561 ,สืบค้นจาก https://www.vec.go.th.

สำนักงานสถิติแห่งชาติ (2565). สถิติแรงงาน. สืบค้นเมื่อวันที่ 21 กรกฎาคม 2565, สืบค้นจากhttp://statbbi.nso.go.th/staticreport/page/sector/th/02.aspx.

พงศ์เสวก เอนกจำนงค์พร และ ธัญญลักษณ์ เอนกจำนงค์พร (2563). แรงงานผู้สูงอายุ: โอกาสและความท้าทายของการจัดการทรัพยากรมนุษย์ในธุรกิจการบริการ. วารสารสังคมศาสตร์มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, 23(1), 216-229.

เพ็ญประภา เบญจวรรณ. (2558). การเตรียมความพร้อมก่อนเกษียณอายุ. วารสารมหาวิทยาลัยนราธิวาส ราชนครินทร์ สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 2(1), 82-92.

Arkornsakul, P., Puttitanun, T., & Jongadsayakul, W. (2020). Labor Supply Intention of the Elderly in Thailand. Chiang Mai University Journal of Economics, 24(2), 1-16.

Braun, V., & Clarke, V. (2006). Using thematic analysis in psychology. Qualitative Research in Psychology, 3(2), 77-101.

Chen, C., Elliot, A. J., & Sheldon, K. M. (2019). Psychological need support as a predictor of intrinsic and external motivation: the mediational role of achievement goals. Educational Psychology, 39(8), 1090-1113.

Creswell, J. W. (2007). Qualitative Inquiry & Research Design: Choosing Among Five Approaches. California: Sage Publications, Inc.

Daft, R.L. (2010). New Era of Management., (9th ed.). Canada: South-Western Cengage Learning.

De Vries, M. K. (2003). The retirement syndrome: the psychology of letting go. European Management Journal, 21(6), 707-716.

Deci, E. L., Olafsen, A. H., & Ryan, R. M. (2017). Self-determination theory in work organizations: The state of a science. Annual review of organizational psychology and organizational behavior, 4, 19-43.

De Wind, A., Geuskens, G. A., Ybema, J. F., Bongers, P. M., & van der Beek, A. J. (2015). The role of ability, motivation, and opportunity to work in the transition from work to early retirement–testing and optimizing the Early Retirement Model. Scandinavian journal of work, environment & health, 41(1), 24-35.

Economic Research Institute for ASEAN and East Asia (2021). Population Ageing in Thailand Lessons from One of the Most Aged ASEAN Member States. In D. Lorthanavanich, N. Nirathron, S. Teerakapibal, N. Rompho, A. Tanvisuth, & O Komazawa (Eds.), Economic Research Institute for ASEAN and East Asia (ERIA) and Ageing Business & Care Development Centre (pp. 1-15). Bangkok.

Foxall, G. R. (1994). Behaviour analysis and consumer psychology. Journal of Economic Psychology, 15(1), 5-91.

Kramer, T., & Yoon, S. O. (2007). Approach‐avoidance motivation and the use of affect as information. Journal of Consumer Psychology, 17(2), 128-138.

Laparojkit, S., & Foxall, G.R. (2016). The Routledge Companion to Consumer Behavior Analysis. In G.R. Foxall (Eds.), Collective Intentionality and Symbolic Reinforcement: An investigation of Thai Car-Consumer Clubs (pp. 379-399). Oxon: Routledge.

Mäcken, J. (2019). Work stress among older employees in Germany: effects on health and retirement age. PLoS One, 14(2), 1-13.

Martin, A. J., & Lazendic, G. (2018). Computer-adaptive testing: Implications for students’ achievement, motivation, engagement, and subjective test experience. Journal of educational psychology, 110(1), 27–45.

Nikou, S. A., & Economides, A. A. (2017). Mobile-Based Assessment: Integrating acceptance and motivational factors into a combined model of Self-Determination Theory and Technology Acceptance. Computers in Human Behavior, 68, 83-95.

Pak, K., Kooij, D. T., De Lange, A. H., & Van Veldhoven, M. J. (2019). Human Resource Management and the ability, motivation and opportunity to continue working: A review of quantitative studies. Human Resource Management Review, 29(3), 336-352.

Robson, C. (2002). Real World Research: A Resource for Social Scientists and Practitioner – Researchers.(2nd ed.). Oxford: Blackwell Publishing.

Ryan, R. M., & Deci, E. L. (2000). Intrinsic and extrinsic motivations: Classic definitions and new directions. Contemporary educational psychology, 25(1), 54-67.

Ryan, R. M., & Grolnick, W. S. (1995). Autonomy, relatedness, and the self: Their relation to development and psychopathology. In D. Cicchetti & D. J. Cohen (Eds.), Developmental psychopathology (pp. 618–655). John Wiley & Sons.

Skinner, B. F. (1969). Contingencies of Reinforcement: A Theoretical Analysis. Michigan: Prentice-Hall.

Solomon, R.M. (2018). Consumer Behavior: Buying, Having, and Being. Essex, CM: Pearson Education.