ผลของการจัดกิจกรรมการสอนโดยใช้รูปแบบโมเดลซิปปาบูรณาการเทคโนโลยี ภาษา ชุมชนเป็นฐานและการใช้โครงงานเป็นฐาน เพื่อส่งเสริมผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้รายวิชานาฏศิลป์ เรื่องการแสดงพื้นเมือง 4 ภาค ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนจันทราวาส (คุรุราษฎร์วิทยา)
Main Article Content
บทคัดย่อ
การวิจัยในครั้งนี้มีจุดประสงค์เพื่อนำการจัดการเรียนรู้รูปแบบโมเดลซิปปาบูรณาการเทคโนโลยี ภาษา ชุมชนเป็นฐานและการใช้โครงงานเป็นฐานมาพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 รายวิชานาฏศิลป์ เรื่องการแสดงพื้นเมือง 4 ภาค กลุ่มเป้าหมายที่ใช้ในงานวิจัย คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนจันทราวาส
(คุรุราษฎร์วิทยา) จำนวน 21 คน เครื่องมือที่ใช้ในงานวิจัยได้แก่ 1) แผนการจัดการเรียนรู้ 2) แบบทดสอบผลสัมฤทธิ์
3) แบบประเมินความพึงพอใจ วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่าเฉลี่ย - ร้อยละความก้าวหน้าของผู้เรียน
ผลการวิจัยพบว่า ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชานาฏศิลป์ เรื่องการแสดงพื้นเมือง 4 ภาคสูงขึ้น
และมีความพึงพอใจต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้รูปแบบโมเดลซิปปา บูรณาการเทคโนโลยี ภาษาและการใช้โครงงานเป็นฐานซึ่งเป็นไปตามสมมติฐานที่ตั้งไว้
Downloads
Article Details
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์ลิขสิทธิ์เป็นของวารสารครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ อนุญาตให้เผยแพร่เพื่อการศึกษาและวิจัย ในวงการวิชาการ ไม่อนุญาตการใช้ประโยชน์เพื่อการแสวงหากำไร
ข้อความที่ปรากฏในบทความเป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้แต่ง ซึ่งวารสารครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ ได้ประเมินคุณภาพตามหลักวิชาการ ผลกระทบอันเกิดจากความคิดเห็นของผู้แต่งเป็นความรับผิดชอบของผู้แต่งเอง
References
กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ. (2551). หลักสูตรแกนกลาง พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ : ศูนย์พัฒนาหนังสือกรมวิชาการ.
กลุ่มสารสนเทศ สนผ. สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบซิปปา (CIPPA MODEL). สืบค้นเมื่อ 24 กุมภาพันธ์ 2564
ที่มา : https://data.bopp-obec.info/emis/news/news_view.php?ID_New=1936
ดุษฎี โยเหลา และ คณะ. (2557). การศึกษาการจัดการเรียนรู้แบบ PBL ที่ได้จากโครงการสร้างชุดความรู้เพื่อสร้างเสริม
ทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 ของเด็กและเยาวชน: จากประสบการณ์ความสำเร็จของโรงเรียนไทย. กรุงเทพมหานคร : หจก. ทิพยวิสุทธิ์.
ทัศนวรรณ รามณรงค์. โมเดลซิปปา ( CIPPA Model). สืบค้นเมื่อ 24 กุมภาพันธ์ 2564
ที่มา : https://www.gotoknow.org/posts/547887
ทิศนา แขมมณี. (2543). ศาสตร์การสอน. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ทิศนา แขมมณี. (2558). ศาสตร์การสอน. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
วัชรา เล่าเรียนดีและคณะ. (2560). กลยุทธ์การจัดการเรียนรู้เชิงรุก เพื่อพัฒนาการคิดและยกระดับคุณภาพการศึกษาสำหรับศตวรรษที่ 21. นครปฐม: บริษัทเพชรเกษมพริ้นติ้ง กรุ๊ป จำกัด
สิริรัตน์ นาคิน. (2564). การจัดการเรียนรู้โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน Community Based Learning.
สมบัติ การจนารักพงค์. (2550). นวัตกรรมการศึกษา. กรุงเทพฯ: ธารอักษร
อนุศร หงษ์ขุนทด. (2559). แนวทางการจัดการเรียนการสอนแบบ STEM ตามแนวคิด TPACK Model.
อานนท์ สายคำฟู. (2553). การบูรณาการ ICT ในการจัดการเรียนรู้. เอกสารประกอบการประชุมสัมมนาวางแผนพัฒนาหลักสูตรการเรียนการสอนอีเลิร์นนิ่งระบบวิดีโอคอนเฟอเร็นซ์. (วันที่ 16-22 ตุลาคม 2563 ณ นิจิโก๊ะ
รีสอร์ท แอนท์คันทรี คลับ อำเภอเมือง จังหวัดกาญจนบุรี). กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
Colye, D., Hood, P. & Marsh, D. (2010). CLIL: Content and Language Integrated Learning. Cambridge: Cambridge University Press.
Knowles, S. M. (1975). Self-directed learning: A guide for learnmers and teachers. New York: Follett.
Mishra, P., & Koehler, M. J. (2006). Technological pedagogical content knowledge: A framework for integrating technology in teachers’ knowledge. Teachers College Record, 108 (6), 1017–1054
Saul McLeod. (2017). Kolb’s Learning Styles and Experiential Learning Cycle. Simply Psychology. Retrieved