สมรรถนะการปรึกษาเชิงจิตวิทยาสำหรับครูที่ปรึกษา

Main Article Content

พัชรี ถุงแก้ว
อภิเชษฐ จันทนา

บทคัดย่อ

บทบาทที่สําคัญอย่างหนึ่งของครูที่ปรึกษาคือการดูแลช่วยเหลือผู้เรียน คอยชี้แนะทั้งเรื่องการเรียนและเรื่องส่วนตัว เพื่อให้ผู้เรียนมีความพร้อมทั้งทางด้านร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ และสังคม ซึ่งเครื่องมือที่จะให้ช่วยครูที่ปรึกษาสามารถดูแลช่วยเหลือนักเรียนได้คือ การปรึกษาเชิงจิตวิทยา เป็นกระบวนการให้ความช่วยเหลือผู้เรียน ด้วยการสื่อสารแบบสองทางอย่างมีเป้าหมาย โดยครูที่ปรึกษาจะเป็นผู้ช่วยสร้างบรรยากาศและสัมพันธภาพ ตลอดจนใช้กระบวนการการปรึกษาเชิงจิตวิทยาเอื้ออำนวยให้ผู้เรียนเกิดความรู้สึกไว้วางใจ พร้อมที่จะเปิดเผยความรู้สึกของตนเองในการสำรวจทำความเข้าใจกับปัญหาจนสามารถตัดสินใจและแก้ไขปัญหาในเรื่องต่าง ๆ ได้ด้วยตนเองอย่างเหมาะสม ดังนั้น จึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่ครูที่ปรึกษาจะต้องได้รับการพัฒนาสมรรถนะการปรึกษาซึ่งประกอบไปด้วยสมรรถนะ 3 ด้าน ได้แก่ ด้านเจตคติ ด้านความรู้ และด้านทักษะ เพื่อทำให้การปรึกษาเชิงจิตวิทยามีประสิทธิภาพ ส่งผลให้นักเรียนสามารถแก้ปัญหาและพัฒนาตนเองได้อย่างเต็มศักยภาพ

Downloads

Download data is not yet available.

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

กมลชนก ภาคภูมิ. (2556). การพัฒนารูปแบบสมรรถนะที่จําเป็นสําหรับครูในสถานศึกษาขั้นพื้นฐานเพื่อรองรับการ

ก้าวสู่ประชาคมอาเซียน. (วิทยานิพนธ์ดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาพัฒนศึกษา, บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร).

กรกฎา นักคิ้ม. (2559). สมรรถนะครูที่ปรึกษาของนักเรียนเพื่อนที่ปรึกษา (YC) เขตภาคกลาง. วารสารศิลปากร

ศึกษาศาสตร์วิจัย, 8(2), 88-102.

กฤตวรรณ คำสม. (2554). การศึกษาและการพัฒนาสมรรถนะของนักศึกษาในการให้คำปรึกษาแก่เพื่อน.

(วิทยานิพนธ์ดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาจิตวิทยาการให้คำปรึกษา, บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัย

ศรีนครินทรวิโรฒ).

จีน แบรี่. (2549). การให้การปรึกษา. พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุงเทพฯ: เจริญวิทย์การพิมพ์.

บุญเลิศ คำปัน และญาณินท์ คุณา. (2561). บริการปรึกษาวัยรุ่นภาวะวิกฤต ในอำเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่. ใน

การประชุมวิชาการนำเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ เครือข่ายบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏภาคเหนือ ครั้งที่ 18 และลำปางวิจัย ครั้งที่ 4 (20 กรกฎาคม 2561 หน้า 208-228). ลำปาง: มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง.

เพ็ญนภา กุลนภาดล. (ธันวาคม, 2557). การพัฒนาสมรรถนะการให้การปรึกษาวัยรุ่นของอาจารย์ที่ปรึกษาใน

โรงเรียนมัธยมศึกษา จังหวัดชลบุรี. วารสารการวัดผลการศึกษา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. 20(2), 206-220.

มัลลวีร์ อดุลวัฒนศิริ. (2554). เทคนิคการให้คำปรึกษา : การนำไปใช้. ขอนแก่น : คลังนานาวิทยา.

ยุพาวดี เกริกกุลธร และคณะ. (ตุลาคม-ธันวาคม, 2561). การพัฒนาสมรรถนะครูที่ปรึกษาตามแนวคิดการมีสติและ

การเรียนรู้จากการปฏิบัติงาน. วารสารสันติศึกษาปริทรรศน์ มจร, 6(4), 1541-1555.

ริชาร์ด เนลสัน โจนส์. (2552). คู่มือให้คำปรึกษาและช่วยเหลือผู้อื่น : ทักษะพื้นฐานในการเป็นผู้ให้คำปรึกษาและ

คู่มือปฏิบัติการ = Basic Counseling Skills & A Helper's Manual. แปลโดย นวลศิริ เปาโรหิตย์ และเมธินินท์ ภิญญูชน. กรุงเทพฯ: บี มีเดีย.

เรียม ศรีทอง. (2548). จิตวิทยาการปรึกษาเบื้องต้น : ทฤษฎีและปฏิบัติ. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร.

วรางคณา โสมะนันทน์. (พฤษภาคม-สิงหาคม, 2561). ทักษะการปรึกษาเชิงจิตวิทยาเบื้องต้นสำหรับครูประจำชั้น.

วารสารวไลยอลงกรณ์ปริทัศน์ (มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์), 8(2), 173-185.

วรางคณา โสมะนันทน์. (เมษายน-มิถุนายน, 2562). การพัฒนาชุดฝึกอบรมทักษะการปรึกษาเชิงจิตวิทยาเบื้องต้น

สำหรับครูประจำชั้นระดับชั้นมัธยมศึกษา. วารสารครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 47(1), 315-336.

วัชรี ทรัพย์มี. (2550). กระบวนการปรึกษา ขั้นตอน สัมพันธภาพ ทักษะ. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: คณะจิตวิทยา

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และสมาคมแนะแนวแห่งประเทศไทย. (2559). การให้คำปรึกษา.

กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.

สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน. (2548). คู่มือสมรรถนะราชการพลเรือนไทย. กรุงเทพฯ: สำนักงาน

คณะกรรมการข้าราชการพลเรือน.

สุกัญญา รัศมีธรรมโชติ. (2549). แนวทางการพัฒนาศักยภาพมนุษย์ด้วย Competency. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ:

ศิริวัฒนาอินเตอร์พริ้นท์.

สุวัสดา คำผิว. (กรกฎาคม-กันยายน, 2553). ผลของชุดฝึกอบรมพัฒนาความรู้และทักษะการให้คำปรึกษา สำหรับ

ครูที่ปรึกษาระดับมัธยมศึกษาในโรงเรียนขยายโอกาส. วารสารวิจัย มข. (ฉบับบัณฑิตศึกษา), 10(3), 127-

เสน่ห์ จุ้ยโต. (2559). องค์การสมัยใหม่สู่องค์การสมรรถนะสูง. พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์

มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

อาดัม นีละไพจิตร. (2553). การศึกษาและพัฒนาสมรรถนะการให้คำปรึกษากลุ่มสำหรับครูโรงเรียนเอกชนสอน

ศาสนาอิสลาม. (วิทยานิพนธ์ดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาจิตวิทยาการให้คำปรึกษา, บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัย

ศรีนครินทรวิโรฒ).

อุรปรีย์ เกิดในมงคล. (2559). ผลการใช้โปรแกรมฝึกอบรมเพื่อพัฒนาทักษะการช่วยเหลือนักเรียนแบบการให้

คำปรึกษากลุ่มของครูโรงเรียนมัธยมศึกษา. วารสารศิลปากรศึกษาศาสตร์วิจัย, 8(2), 36-48.

Arbin, J.S. et al. (2019). Structural model of counseling competency. Cakrawala Pendidikan.

(1), 45-62. doi: 10.21831/cp.v38i1.21509

Corey, G. (2013). Theory and practice of counseling and psychotherapy. 9th ed. Pacific Grove, Calif:

Brooks/Cole.

Hansen, James C., Rossberg, Robert H. Cramer, Stanley H., (1994). Counseling Theory and Process.

th ed. Boston: Allyn and Bacon.

Ridley, C. R., Mollen, D., & Kelly, S. M. (2011). Counseling competence: Application and

implications of a model. The Counseling Psychologist, 39(6), 865–886.