SBM พื้นฐานความสำเร็จของการศึกษายุคใหม่
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนําเสนอหลักการบริหารโดยใช้พื้นที่เป็นฐาน เป็นการกระจายอำนาจควบคุมจากส่วนกลางไปยังชุมชน และสถานศึกษา ทั้ง 4 ด้าน คือ ด้านบริหารวิชาการ การบริหารงบประมาณการบริหารงานบุคลากร และการบริหารทั่วไป โดยให้คณะกรรมการสถานศึกษา ซึ่งประกอบด้วยผู้บริหารสถานศึกษา ครูนักเรียน ผู้ปกครอง สมาชิกในชุมชนและในบางสถานศึกษามีตัวแทนนักเรียนเป็นกรรมการอีกด้วย ให้มีอำนาจควบคุมสิ่งที่จะเกิดขึ้นในสถานศึกษาเพื่อให้เป็นไปตามความต้องการของท้องถิ่น ซึ่งเป็นการบริหารที่กำหนดให้งานบริหารโรงเรียนเป็นไปตามลักษณะและความต้องการของโรงเรียนแต่ละแห่งซึ่งจะทำให้ผู้เกี่ยวข้องมีอิสระและความรับผิดชอบในการใช้ทรัพยากรสูงขึ้น ทั้งนี้เพื่อให้โรงเรียนสามารถแก้ไขปัญหาทางการศึกษาอย่างมีประสิทธิภาพ และให้โรงเรียนพัฒนายิ่งขึ้นในระยะยาว มีองค์ประกอบที่สำคัญในการบริหาร 5 องค์ประกอบ คือ 1) การกระจายอำนาจ 2) การมีส่วนร่วม 3) การมีเป้าหมายร่วมกัน 4) การมีความรับผิดชอบต่อสังคม 5) การพัฒนาสารสนเทศแหล่งเรียนรู้
Downloads
Article Details
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์ลิขสิทธิ์เป็นของวารสารครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ อนุญาตให้เผยแพร่เพื่อการศึกษาและวิจัย ในวงการวิชาการ ไม่อนุญาตการใช้ประโยชน์เพื่อการแสวงหากำไร
ข้อความที่ปรากฏในบทความเป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้แต่ง ซึ่งวารสารครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ ได้ประเมินคุณภาพตามหลักวิชาการ ผลกระทบอันเกิดจากความคิดเห็นของผู้แต่งเป็นความรับผิดชอบของผู้แต่งเอง
References
กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น. (2551). คู่มือการจัดทําแผนพัฒนาท้องถิ่น. กรุงเทพฯ: ส่วนแผนพัฒนาท้องถิ่น กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น.
กล้า ทองขาว. (2558). การจัดการศึกษาแบบยึดพื้นที่เป็นฐาน : แนวคิด แนวทางและกรณีศึกษา. วารสารราชภัฎสุราษฎร์ธานี, 2 (2), 21 – 36.
ธีระ รุญเจริญ. (2550). ความเป็นมืออาชีพในการจัดและบริหารการศึกษายุคปฏิรูปการศึกษา. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ: ข้าวฟ่าง.
นครินทร์ เมฆไตรรัตน์ และคณะ. (2547). ทิศทางการปกครองท้องถิ่นไทยและต่างประเทศเปรียบเทียบ. กรุงเทพฯ: วิญญูชน.
เนตร พัณณา ยาวิราช. (2552). ภาวะผู้นําและผู้นําเชิงกลยุทธ์. (พิมพ์ครั้งที่ 7). กรุงเทพฯ: บริษัททริปเพิ้ลกรุ๊ป จํากัด.
ประเวศ วะสี. (2543). สุขภาพในฐานะอุดมการณ์ของมนุษย์. (พิมพ์ครั้งที่ 3). นนทบุรี: สํานักงานปฏิรูปสุขภาพ สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข.
รมณียฉัตร แก้วกิริยา. (2551). ศิลปะการผูกมิตรและจูงใจคน. กรุงเทพฯ: Pocket Media.
รุ่ง แก้วแดง. (2544). ประกันคุณภาพการศึกษาทุกคนทําได้ไม่ยาก. กรุงเทพฯ: วัฒนาพานิช.
วิจารณ์ พานิช. (2555). วิถีสร้างการเรียนรู้เพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 21. กรุงเทพฯ : มูลนิธิสดศรี-. สฤษดิ์วงศ์.
สมคิด เลิศไพฑูรย์ และมรุต วันทนากร. (2547). คําอธิบายศัพท์การปกครองท้องถิ่น. นนทบุรี: สถาบันพระปกเกล้า.
สมศักดิ์ คงเที่ยง. (2544). หลักและทฤษฎีการบริหารการศึกษา. กรุงเทพฯ: มิตรภาพการพิมพ์และสติวดิโอ.
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2553). คู่มือการขับเคลื่อนกลยุทธ์ โรงเรียนมาตรฐานสากล. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.
สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2548). รูปแบบการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน: ประสบการณ์ที่คัดสรรโรงเรียนในโครงการโรงเรียนปฏิรูปการเรียนรู้เพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียน. กรุงเทพฯ: สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา.
สุธรรม ธรรมทัศนานนท์. (2554). หลักการ ทฤษฎีและนวัตกรรมการบริหารการศึกษา. มหาสารคาม: โรงพิมพ์สารคามการพิมพ์.
สุธรรม ธรรมทัศนานนท์. (2566). การบริหารสู่องคุการแห่งนวัตกรรมการศึกษา. (พิมพ์ครั้งที่ 3). ขอนแก่น: คลังนานาวิทยา.
สุพานี สฤษฎ์วานิช. (2553). การบริหารเชิงกลยุทธ์ : แนวคิดและทฤษฎี. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
อุทัย บุญประเสริฐ. (2546). การบริหารจัดการสถานศึกษาโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
Aaker, D.A. (1996). Building Strong Brands. New York: Free Press.
Aldag, R. J. & Kazuhara, L. W. (2001). Organizational behavior and management: an integrated skills approach. Australia: South-Western.
Wallace, H. R. & Masters, L. A. (2002). Personal development for life and work.(8th ed.). OH: South Western.