ความเหลื่อมล้ำของการนำเทคโนโลยีมาใช้ในการบริหารงานโรงเรียนขนาดเล็ก
Main Article Content
บทคัดย่อ
ความเหลื่อมล้ำของการนำเทคโนโลยีมาใช้ในการบริหารงานโรงเรียนขนาดเล็ก คือ ความไม่เท่าเทียมกันของคุณภาพและมาตรฐานของการจัดการศึกษาด้านเทคโนโลยีในโรงเรียนขนาดเล็ก ทำให้เกิดปัญหาด้านการบริหารที่อาจมีคุณภาพไม่เท่ากับโรงเรียนขนาดกลางหรือขนาดใหญ่ ทำให้ผู้บริหารสถานศึกษาต้องหาทางแก้ไขปัญหา ซึ่งปัญหาที่พบแบ่งเป็น 3 ด้าน คือ 1) ด้านงบประมาณ วัสดุครุภัณฑ์ 2) ด้านสื่อเทคโนโลยี 3) ด้านบุคลากร โดยมีการนำเสนอแนวทางการลดปัญหาความเหลื่อมล้ำของการนำเทคโนโลยีมาใช้ในการบริหารงานโรงเรียนขนาดเล็ก เพื่อให้การจัดการศึกษามีคุณภาพและมาตรฐานที่เท่าเทียมกัน โดยให้มีการส่งเสริมสนับสนุนงบประมาณ วัสดุครุภัณฑ์ สื่อเทคโนโลยี อย่างเหมาะสมและเพียงพอตามบริบทของโรงเรียนขนาดเล็ก และต้องมีบุคลากรที่มีความรู้ ความสามารถ และความเชี่ยวชาญทางด้านเทคโนโลยี เพื่อให้การดำเนินงานเกิดประสิทธิภาพสูงสุด
Downloads
Article Details
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์ลิขสิทธิ์เป็นของวารสารครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ อนุญาตให้เผยแพร่เพื่อการศึกษาและวิจัย ในวงการวิชาการ ไม่อนุญาตการใช้ประโยชน์เพื่อการแสวงหากำไร
ข้อความที่ปรากฏในบทความเป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้แต่ง ซึ่งวารสารครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ ได้ประเมินคุณภาพตามหลักวิชาการ ผลกระทบอันเกิดจากความคิดเห็นของผู้แต่งเป็นความรับผิดชอบของผู้แต่งเอง
References
กระทรวงศึกษาธิการ. (2564). แผนปฏิบัติการดิจิทัลเพื่อการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2563 – 2565. สืบค้น 20 ธันวาคม 2565. จาก https://bict.moe.go.th/wp-content/uploads/2022/03/digital-63-65.pdf
ดำรงค์ ชลสุข. (2560). Multi-grade Teaching กับการแก้ปัญหาการศึกษาโรงเรียนขนาดเล็ก. สืบค้น 18 ธันวาคม 2565. จาก https://www.matichon.co.th/columnists/news_478550
ปิยะนุช บัวชุม. (2561). การใชเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการบริหารของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่
การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 4. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). สุราษฎร์ธานี:
มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎรธานี.
มัณฑนา เพ็งสาย. (2564). แนวทางการบริหารโรงเรียนโดยใช้เทคโนโลยียุคดิจิทัลของโรงเรียนมัธยม
วัดนายโรง. JED An Online Journal of Education วารสารอิเล็กทรอนิกส์ทางการศึกษาจุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย, 16(2), 1-15. https://so01.tcithaijo.org/index.php/OJED/article/view/251737/168569
รัตนะ บัวสนธ์. (2561). การพัฒนารูปแบบบูรณาการความร่วมมือเพื่อลดความเหลื่อมล้ำด้านคุณภาพและ มาตรฐานการศึกษาระดับเขตพื้นที่การศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน.
วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ปีที่ 21 ฉบับที่ 2, 239-258. พิษณุโลก : มหาวิทยาลัยนเรศวร
วินิจ ผาเจริญ และคณะ. (2564). ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษาของพลเมืองไทยวัยเรียนกับสถานการณ์
การเรียนออนไลน์ในยุคไวรัสโควิด-19. วารสารปัญญาปณิธาน, 6(1), 1-14.
https://so05.tci-thaijo.org/index.php/PPJ/article/view/248655/170343
สมชัย จิตสุชน. (2560). ความเหลื่อมล้ำในสังคมไทย : แนวโน้ม นโยบาย และแนวทางขับเคลื่อนนโยบาย.
สืบค้น 18 ธันวาคม 2565. จาก https://tdri.or.th, 2560.
สมบัติ นพรัก. (2565). จะยุบโรงเรียนขนาดเล็กอีกกี่แห่ง?. สืบค้น 20 ธันวาคม 2565. จาก https://www.kroobannok.com/90292
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแหงชาติ. (2545). พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 และที่แกไข เพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545. กรุงเทพฯ : พริกหวานกราฟก.
สำนักนโยบายและแผนการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2562) แผนบริหารจัดการโรงเรียนขนาดเล็กปี พ.ศ. 2562-2565. สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน.
สุริยา ฆ้องเสนาะ. (2558). ปัญหาของโรงเรียนขนาดเล็ก. สืบค้น 18 ธันวาคม 2565. จาก
https://dl.parliament.go.th/backoffice/viewer2300/web/viewer.php
อมรรัตน์ จินดา. (2559). สภาพปัญหาและแนวทางส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อ การศึกษาสำหรับสถานศึกษาในสังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 2. Veridian E-Journal, Silpakorn University. 9(1), 395-407.
https://he02.tci-thaijo.org/index.php/Veridian-E-Journal/article/view/54159/44952