ทักษะการบริหารเวลาสู่ความสำเร็จ

Main Article Content

อิสรพล ปิ่นขจร
สายฟ้า หาสีสุข
รพีพรรณ ปรีชา

บทคัดย่อ

บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนําเสนอทักษะการบริหารเวลาสู่ความสำเร็จ เป็นการกำหนดและการควบคุมการปฏิบัติงานให้บรรลุผลตามเวลาและวัตถุประสงค์ที่กำหนด ซึ่งเป็นการใช้เวลาอย่างมีประสิทธิภาพ และช่วยลดความเครียด ทักษะการบริหารเวลาที่สำคัญ ประกอบด้วย การบริหารตนเอง การบริหารลูกน้อง การบริหารชีวิตส่วนตัว และการบริหารครอบครัว ซึ่งเป็นทักษะที่สำคัญและมีความจำเป็นต่อผู้บริหารในยุดิจิทัลที่มีเทคโนโลยีอำนวยความสะดวก การบริหารจัดการเป็นไปได้อย่างรวดเร็ว ทักษะเหล่านี้ช่วยให้จัดสรรเวลาได้ดี ส่งผลให้ได้งานที่มีคุณภาพสมบูรณ์ที่สุดภายใต้ความจำกัดของเวลาที่มีอยู่ โดยผู้บริหารที่มีการบริหารเวลาที่ดีควรมีแผนการทำงาน กำหนดตารางเวลาในการทำงาน จัดลำดับความสำคัญของงานก่อน-หลัง และควบคุมตนเองให้มีระเบียบวินัย จะนำมาซึ่งการบริหารที่มีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล ได้ทั้งประโยชน์ส่วนรวมและประโยชน์ส่วนตน

Downloads

Download data is not yet available.

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์. (2557). บริหารเวลาเพื่อความสำเร็จ. กรุงเทพฯ: ซัคเซสมีเดีย จำกัด.

เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์. (2561). ใครว่าไม่มีเวลา Take Your Time. กรุงเทพฯ: ซัคเซส พับลิชชิ่ง.

ชัยเสฏฐ์ พรหมศรี. (2561). ภาวะผู้นำสำหรับผู้บริหารองค์การ: แนวคิด ทฤษฎีและกรณีศึกษา. กรุงเทพฯ: ปัญญาชน.

ทวีวรรณ กมลบุตร. (2555). จัดการเวลาให้มีมากกว่า 24 ชั่วโมง ไม่ยาก. นนทบุรี: ธิงค์ บียอนด์ บุ๊คส์.

นัทนิชา หาสุนทรี. (2560). การเมืองการปกครองไทย. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา.

ปราชญา กล้าผจัญ. (2543). 88 ลู่ทางสู่ความสำเร็จของนักบริหาร. (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ: ข้าวฟ่าง.

พระธรรมปิฏก (ป.อ. ปยุตฺโต). (2544). พุทธวิธีในการสอน. (พิมพ์ครั้งที่ 8). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ บริษัท สหธรรมิก จำกัด.

เมธ์วดี กาญจนสรวง. (2558). การวิเคราะห์สภาพปัญหาและแนวทางการจัดการเวลาของครู: การวิจัยแบบผสมวิธี. วารสารอิเล็กทรอนิกส์ทางการศึกษา, 10(1), 274-288.

วิเชียร วิทยอุดม. (2560). องค์การและการจัดการ Organization & Management. นนทบุรี: ธนธัชการพิมพ์ จำกัด.

ศิริสุดา แก้วมณีชัย. (2563). รูปแบบความสัมพันธ์โครงสร้างเชิงเส้นของปัจจัยที่ส่งผลต่อการบริหารเวลาอย่างมีประสิทธิภาพของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. วารสารครุศาสตร์ปริทรรศน์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย, 7(1), 242-253.

เศรษฐพงศ์ มะลิสุวรรณ. (2561). การเปลี่ยนผ่านทางดิจิทัลของประเทศไทย เพื่อนำไปสู่ Thailand 4.0วารสารวิชาการ กสทช. 2(ธันวาคม), 23.42.

สํานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2560). แผนการศึกษาแหงชาติ พ.ศ.2560 - 2579.กรุงเทพฯ: พริกหวานกราฟฟิค.

สำนักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย. (2553). การบริหารเวลา. กรุงเทพฯ: สถาบันดำรงราชานุภาพ สำนักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย.

สุทธิชัย ปัญญโรจน์. (2556). การตลาดเชิงสร้างสรรค์. วารสาร TPA News, 119(7), 43-44.

อาภรณ์ ภู่วิทยพันธุ์. (2553). กลยุทธ์การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ : Strategic Human Resource. Devel-opment. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: พิมพ์ดี.

Drucker, Peter F. (2002). The Discipline of Innovation. Harvard Business Review. August, 95-103.

Hoy & Cecil MisKel. (2008). Educational Administration Theory Research and Practice (8th ed.). New York: Mc Graw-Hill Inc.

Swanson, R.A. (2001). Human resource development and its underlying theory. Human Re-source Development International, 4(3), 299-312.