เมื่อโลกร้อนท้าทายตุลาการ
Main Article Content
บทคัดย่อ
นับตั้งแต่ 2005 – 2022 มีจำนวนการดำเนินคดีเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (Climate Litigations) ราว 2,002 คดี เฉพาะในทวีปเอเชียแปซิฟิคมีจำนวนคดี 28 คดีและมีแนวโน้มว่าจะเพิ่มขึ้นในอนาคต การนำคดีโลกร้อนขึ้นสู่ศาลเป็นอีกช่องทางหนึ่งที่พลเมืองและภาคประชาสังคมใช้เพื่อให้รัฐมีมาตรการและแก้ไขปัญหาโลกร้อน คดีเช่นนี้จึงเป็นความท้าทายต่อสถาบันตุลาการเพราะเป็นองค์กรที่มีความเป็นอนุรักษ์นิยมสูงที่ไม่เท่ากันกับการเปลี่ยนแปลง แต่ก็เป็นองค์กรที่มีอำนาจในการตีความกฎหมาย พิพากษา การนำคดีโลกร้อนขึ้นสู่ศาลจึงส่งผลให้สถาบันตุลาการไม่อาจหลีกหนีประเด็นโลกร้อนได้อีกต่อไป ขณะเดียวกันผลจากคำพิพากษาย่อมมีผลต่อการปกป้องคุ้มครอง รวมไปถึงริเริ่มให้มีการสร้างมาตรการทางกฎหมายเพื่อต่อสู้กับสภาวะโลกร้อน
ผลการศึกษา พบว่า คดีโลกร้อนเป็นคดีที่เชื่อมโยงกับสิทธิมนุษยชนอย่างแยกไม่ได้ ทั้งเป็นคดีที่มีความซับซ้อนอย่างมาก ขณะเดียวกันก็เชื่อมโยงกับหลักการระหว่างประเทศเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ตามอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (UNFCCC) ความตกลงปารีส (Paris Agreement) หลักความยุติธรรมทางธรรมชาติ (Environmental Justice) ความเป็นธรรมทางสภาพภูมิอากาศ (Climate Justice) ความเป็นธรรมของคนรุ่นเดียวกันและคนรุ่นต่อไป (Intrageneration and intergeneration Justice) และสิทธิในสิ่งแวดล้อมที่ดี (Right to healthy environment) รวมถึงหลักการสิทธิมนุยชนขั้นพื้นฐาน ซึ่งเป็นเครื่องมือสำคัญที่ผู้พิพากษาจำเป็นที่จะต้องทำความเข้าใจและไม่อาจหลีกเลี่ยงได้อีกต่อไป เพราะการพิจารณาคดีโลกร้อนก็จะมาเยือนห้องพิจารณาในสักวัน
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution 4.0 International License.
O ความคิดเห็นใดๆ ที่ลงตีพิมพ์ในวารสารนิติสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เป็นของผู้เขียน (ความคิดเห็นใดๆ ของผู้เขียน กองบรรณาธิการวารสารนิติสังคมศาสตร์ ไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย)
O กองบรรณาธิการ CMU Journal of Law and Social Sciences ไม่สงวนสิทธิ์ในการคัดลอกแต่ให้อ้างอิงแหล่งที่มาด้วย
References
เก่งกิจ กิติเรียงลาภ. “ยุคสมัยแห่งทุน : ข้อถกเถียงว่าด้วยมนุษยสมัยในโลกวิชาการมาร์กซิลต์.” Anthropocene บทวิพากษ์มนุษย์และวิกฤตสิ่งแวดล้อมในยุคสมัยแห่งทุน. 2564.
เกษียร เตชะพีระ. “ตุลาการภิวัฒน์กู้โลกร้อน.” เกษียร เตชะพีระ | ตุลาการภิวัตน์กู้โลกร้อน – มติชนสุดสัปดาห์. สืบค้นเมื่อวันที่ 13 มกราคม 2566 matichonweekly.com)
กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม. “COP23 – COP23.” สืบค้นเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2566 https://datacenter.deqp.go.th/service-portal/cop23/derivation_cop23/#:~:text=ความตกลงปารีสมีผลใช้บังคับเมื่อวันที่,21%20กันยายน%20พ.ศ.%202559.
คนิงนิจ ศรีบัวเอี่ยม. “รายงานการวิจัยเรื่อง ความยุติธรรมทางสิ่งแวดล้อม (Environmental Justice and Citizenship).” มูลนิธิคอนราด อาเดนาวร์: กรุงเทพ. 2559.
จันทร์จิรา จันทร์แผ้ว กฤษดา ขุนณรงค์ อัมรินทร์ สายจันทร์ และอารีวรรณ คูสันเทียะ. “รายงานการศึกษา “มาตรฐานการคิดค่าเสียหายทางสิ่งแวดล้อม”.” สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.): 2557.
ชนกพร ชูติกมลธรรม, “ผู้กระทำการ อำนาจ และความเป็นประวัติศาสตร์ในมนุษยสมัย : กรณีศึกษาเรื่องป่าไม้ในสมัยพัฒนาการ (พ.ศ. 2502 – 2516)”. บรรณาธิการโดย เก่งกิจ กิติเรียงลาภAnthropocene บทวิพากษ์มนุษย์และวิกฤตสิ่งแวดล้อมในยุคสมัยแห่งทุน. 2564.
ชยา วรรธนะภูติ, “ว่าด้วยชีวิตทางสังคม ชีวิตทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และชีวิตทางการเมืองของ “การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ” ในมนุษยสมัย.” บรรณาธิการโดย เก่งกิจ กิติเรียงลาภ “Anthropocene บทวิพากษ์มนุษย์และวิกฤตสิ่งแวดล้อมในยุคสมัยแห่งทุน 2564.
ประชาไท. “ฟ้องเรียกค่าเสียหาย 3.1 แสนบาทชาวกะเหรี่ยงทำโลกร้อนสุดท้ายศาลฎีกาสั่งยก.” สืบค้นเมื่อวันที่ 13 มกราคม 2566 https://prachatai.com/journal/2018/07/77845.
ประชาไท. “ศาลปกครองสูงสุดชี้ขาด ไม่มีอำนาจตัดสิน ‘คดีโลกร้อน’.” สืบค้นเมื่อวันที่ 13 มกราคม 2566 https://prachatai.com/journal/2015/08/60802.
พาฝัน หน่อแก้ว, “Climate Justice: ทุน รวย จน ความเหลื่อมล้ำ และความเท่าเทียม”, ทุน รวย จน ความเหลื่อมล้ำ และความเท่าเทียม : Climate Justice (themomentum.co).
ศุทธินี ใจคำ, “พหุลักษณ์ของความยุติธรรมทางสิ่งแวดล้อม: ภาพสะท้อนจากคดีสิ่งแวดล้อมที่เกี่ยวกับคนชายขอบ”, การประชุมวิชาการสาขานิติศาสตร์ระดับชาติ ครั้งที่ 1 หัวข้อ “ระบบกฎหมายไทย : ปฏิรูป/เปลี่ยนผ่าน/ปฏิสังขรณ์” วันที่ 8 มิถุนายน 2561 โรงแรมแคนทารี ฮิลล์ จังหวัดเชียงใหม่ จัดโดย คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
สงกรานต์ ป้องบุญจันทร์, “การประกอบสร้างสิทธิจากเบื้องล่าง: กรณีศึกษาการฟ้องคดีเพื่อหยุดมลพิษจากนิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด, หนังสือประมวลบทความในการประชุมวิชาการนิติสังคมศาสตร์ระดับชาติ หัวข้อ “จินตนาการใหม่ ภูมิทัศน์นิติศาสตร์ไทย” วันที่ 20 พฤศจิกายน 2563 ณ โรงแรมฟูราม่า จังหวัดเชียงใหม่. สืบค้นเมื่อวันที่ 23 พฤษภาคม 2566 https://www.law.cmu.ac.th/lasc/conference/wp-content/uploads/sites/2/2 017/09/8-สงกรานต์-84-99.pdf.
สิทธิชัย เรืองโรจน์วิริยา. การสัมมนา “การติดตามการดำเนินงานให้เป็นไปตามข้อตกลงและพันธกรณีระหว่างประเทศ” เผยแพร่เมื่อวันที่ 2-3 สิงหาคม 2557. สืบค้นเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2566 http://www.oic.go.th/FILEWEB/CABINFOCENTER3/DRAWER083/GENERAL/DATA0000/00000138.PDF.
Asian Development Bank. “Climate Change, Coming Soon to a Court Near You- Climate Litigation in Asia and the Pacific and Beyond”, (December 2020), Climate Change, Coming Soon to a Court Near You: Climate Litigation in Asia and the Pacific and Beyond (adb.org). (Access November 1, 2022)
Chapter of the United Nations 1945. Article 96. https://legal.un.org/repertory/art96.shtml.
Climate Home News. “Vanuatu publishes draft resolution seeking climate justice at UN Court.” Access March 14, 2023 https://www.climatechangenews .com/2022/11/30/vanuatu-publishes-draft-resolution-seeking-climate-justice-at-un-court/.
Greenpeace. “ถ่านหิน – มหันตภัยโลกร้อนหมายเลข 1”. สืบค้นเมื่อวันที่ 13 มกราคม 2565 https://www.greenpeace.org/thailand/publication/8213/coal-no1-climate-killer/.
Setzer J. and Higham C. Global Trends in Climate Change Litigation: 2022 Snapshot. London: Grantham Research Institute on Climate Change and the Environment and Centre for Climate Change Economics and Policy, London School of Economics and Political Science. 2022.
Setzer, J. and Higham, C., Jackson, A. and Solana, J. “Legal Working Paper Series Climate change litigation and central banks.” European Central Bank, No 21. December 2021. Access January 9, 2023 https://www.ecb.europa.eu/pub/pd f/scplps/ecb.lwp21~f7a250787a.en.pdf.
Statute of the International Court of Justice 1945, Article 65, https://www.icj-cij.org/statute.
UN environment programme. “In historic move, UN declares healthy environment a human right.” Access January 14, 2023 https://www.unep.org/news-and-stories/ story/historic-move-un-declares-healthy-environment-human-right.
United Nations General Assembly 77 sesion. “Resolution adopted by the General Assembly on 29 March 2023.” A/RES/77/276, Access June 15, 2023 https://drive.g oogle.com/file/d/1p6U3S-u5cfTDNzJ0E-vJ0GpnjCocuj55/view.
Vanuatu ICJ Initiative, “ICJ Resolution”, Access March 15, 2023, https://www.van uatuicj.com/resolution.
Vanuatu ICJ Initiative, “Vanuatu’s International Court of Justice Climate Initiative endorsed by the 51st Pacific Island Forum Leaders”, (Access 14 March, 2023), https://www.nab.vu/sites/default/files/news_attachments/Press%20Release_PIFs_endorsement_final.pdf.
Vanuatu ICJ Initiative, ICJ Resolution 77 session “Adopted Resolution”, Access June 15, 2023 https://www.vanuatuicj.com/resolution.
Xinhua Thai News Service. จีนเปิดทางรถไฟ ‘ถ่านหิน’ สายยาวสุดในโลกขนส่งข้ามทิศ 200 ล้านต้นต่อปี, สืบค้นเมื่อวันที่ 13 มกราคม 2565 https://www.xinhuathai.com/china/38 892_20190929.