อุดมการณ์ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขในคำพิพากษาของศาล
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความวิชาการชิ้นนี้จึงมุ่งศึกษาเกี่ยวกับอุดมการณ์ของรัฐที่เรียกว่า“ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข”ที่มีบทบาทชี้นำกลไกด้านปราบปรามของรัฐอื่น ๆ อย่างกฎหมายและศาลว่ามีองค์ประกอบและกลไกการทำงานเช่นไร ด้วยการอาศัยกรอบทางทฤษฎีของนิติศึกษาแนววิพากษ์กับทฤษฎีอุดมการณ์ของรัฐของหลุยส์ อัลธูแซร์เป็นแนวพินิจ สำหรับข้อมูลพื้นฐานที่ใช้ในการวิเคราะห์มาจากคำพิพากษาในกลุ่มคดีที่เกี่ยวกับประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 112 และคดีรัฐธรรมนูญ ในระหว่างปี พ.ศ. 2557 ถึง พ.ศ. 2566 โดยผลการศึกษาพบว่าอุดมการณ์ของรัฐดังกล่าวมีบทบาทสร้างความชอบธรรมทางการเมืองให้กับพระราชสถานะและพระราชอำนาจแบบใหม่ของพระมหากษัตริย์ที่เกิดขึ้นหลังรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2492 ซึ่งมีลักษณะที่ไม่สอดคล้องกับสถานะและอำนาจของพระมหากษัตริย์ในระบอบเสรีประชาธิปไตยแบบสากลและเป็นกลไกลที่ทำงานชี้นำให้เกิดการตีความกฎหมายที่มีลักษณะขัดต่อหลักกฎหมายและนิติวิธีพื้นฐานต่าง ๆ ในคำพิพากษาของศาลขึ้นมา โดยการชี้นำดังกล่าวมีวัตถุประสงค์ทางการเมืองเพื่อปราบปรามมิให้มีอุดมการณ์อื่นใดขึ้นมาท้าทายสถานะการชี้นำรัฐและสังคมของอุดมการณ์ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขได้
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution 4.0 International License.
O ความคิดเห็นใดๆ ที่ลงตีพิมพ์ในวารสารนิติสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เป็นของผู้เขียน (ความคิดเห็นใดๆ ของผู้เขียน กองบรรณาธิการวารสารนิติสังคมศาสตร์ ไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย)
O กองบรรณาธิการ CMU Journal of Law and Social Sciences ไม่สงวนสิทธิ์ในการคัดลอกแต่ให้อ้างอิงแหล่งที่มาด้วย
References
คริส เบเคอร์, และผาสุก พงษ์ไพจิตร. ประวัติศาสตร์ไทยร่วมสมัย. กรุงเทพฯ: มติชน, 2561.
คำพิพากษาศาลจังหวัดขอนแก่น คดีหมายเลขแดงที่ 1945/2560.
คำพิพากษาศาลจังหวัดธัญบุรี คดีหมายเลขแดงที่ อ.1474/2559.
คำพิพากษาศาลจังหวัดนนทบุรี คดีหมายเลขแดงที่ อ.837/2552.
คำพิพากษาศาลจังหวัดพล คดีหมายเลขแดงที่ 157/2561.
คำพิพากษาศาลจังหวัดพล คดีหมายเลขแดงที่ 162/2561.
คำพิพากษาศาลจังหวัดพัทยา คดีหมายเลขแดงที่ อ.568/2563.
คำพิพากษาศาลจังหวัดยะลา คดีหมายเลขแดงที่ อ.885/2565.
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2354/2531.
คำพิพากษาศาลทหารกรุงเทพ คดีหมายเลขแดงที่ 135ก./2558.
คำพิพากษาศาลทหารกรุงเทพ คดีหมายเลขแดงที่ 177ก./2558.
คำพิพากษาศาลทหารกรุงเทพ คดีหมายเลขแดงที่ 196ก./2558.
คำพิพากษาศาลทหารกรุงเทพ คดีหมายเลขแดงที่ 197ก./2558.
คำพิพากษาศาลทหารกรุงเทพ คดีหมายเลขแดงที่ 21ก./2558.
คำพิพากษาศาลทหารกรุงเทพ คดีหมายเลขแดงที่ 25ก./2560.
คำพิพากษาศาลทหารกรุงเทพ คดีหมายเลขแดงที่ 262ก./2558.
คำพิพากษาศาลทหารกรุงเทพ คดีหมายเลขแดงที่ 84 ก./2557.
คำพิพากษาศาลทหารกรุงเทพ คดีหมายเลขแดงที่ 98 ก./2557.
คำพิพากษาศาลทหารกรุงเทพ คดีหมายเลขแดงที่ 99 ก./2557.
คำพิพากษาศาลปกครองกลาง คดีหมายเลขแดงที่ 957/2563.
คำพิพากษาศาลมณฑลทหารบกที่ 18 คดีหมายเลขแดงที่ 45/2560.
คำพิพากษาศาลเยาวชนและครอบครัวกลาง คดีหมายเลขแดงที่ ยชอ 345/2565.
คำพิพากษาศาลอาญา คดีหมายเลขแดงที่ อ.2660/2557.
คำพิพากษาศาลอาญา คดีหมายเลขแดงที่ อ.2962/2557.
คำพิพากษาศาลอาญา คดีหมายเลขแดงที่ อ.506/2558.
คำพิพากษาศาลอาญา คดีหมายเลขแดงที่ อ.66/2566.
คำพิพากษาศาลอาญา คดีหมายเลขแดงที่ อ.67/2564
คำพิพากษาศาลอาญาตลิ่งชัน คดีหมายเลขแดงที่ อ.445/2566.
คำพิพากษาศาลอุทธรณ์ภาค 2 คดีหมายเลขแดงที่ 1509/2565.
คำวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญที่ 15-18/2556.
คำวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญที่ 19/2564.
คำวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญที่ 28-29/2555.
คำวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญที่ 3/2562.
คำวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญที่ 7/2559.
คำสั่งคณะปฏิรูปการปกครองแผ่นดิน ฉบับที่ 41. ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 93 ตอน 134 ฉบับพิเศษ (21 ตุลาคม 2519): 46-51.
คำสั่งศาลรัฐธรรมนูญที่ 63/2556.
จรัญ โฆษณานันท์. นิติปรัชญาแนววิพากษ์. กรุงเทพ: นิติธรรม, 2555.
จิตติ ติงศภัทิย์. คำอธิบายประมวลกฎหมายอาญา (ภาค 1). กรุงเทพฯ: สำนักอบรมศึกษา กฎหมายแห่งเนติบัณฑิตยสภา, 2546.
ณัฐพล ใจจริง. ขุนศึก ศักดินา และพญาอินทรี. นนทบุรี: ฟ้าเดียวกัน, 2563.
แถลงการณ์คณะปฏิรูปการปกครองแผ่นดิน. ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 93 ตอน 120 ฉบับพิเศษ (6 ตุลาคม 2519): 1-4.
ทักษ์ เฉลิมเตียรณ. การเมืองระบบพ่อขุนอุปถัมภ์แบบเผด็จการ. กรุงเทพฯ: มูลนิธิโครงการตำรา สังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์, 2559.
ไทยพีบีเอส. นายกฯ เผย "ในหลวง" ทรงมีพระเมตตารับสั่งไม่ให้ใช้ ม.112, สืบค้นเมื่อวันที่ 27 พฤษภาคม 2566, https://www.thaipbs.or.th/news/content/293636.
ธงชัย วินิจกุล. นิติรัฐอภิสิทธิ์และราชนิติธรรม. กรุงเทพฯ: Way, 2563.
ธงชัย วินิจกุล. รัฐราชาชาติ ว่าด้วยรัฐไทย. นนทบุรี: ฟ้าเดียวกัน, 2563.
ธรรมศาสตร์และการชุมนุม. ปรากฏการณ์สะท้านฟ้า 10 สิงหาคม 10 ข้อเรียกร้องว่าด้วยสถาบัน กษัตริย์. ม.ป.ท: ม.ป.พ., 2563.
ธานินทร์ กรัยวิเชียร. การใช้กฎหมายป้องกันคอมมิวนิสต์. กรุงเทพฯ: ศูนย์รักษาความปลอดภัย กระทรวงกลาโหม, 2517.
ธานินทร์ กรัยวิเชียร. พระมหากษัตริย์ในระบอบประชาธิปไตย. กรุงเทพฯ: กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ, 2519.
ธานินทร์ กรัยวิเชียร. ระบอบประชาธิปไตย. กรุงเทพฯ: กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ, 2520.นพพร ประชากุล. วิจักษ์วิจารณ์วรรณกรรมฝรั่งเศส. กรุงเทพฯ: คบไฟ, 2546.
นพพล อาชามาส. การประกอบสร้างความหวาดกลัว และการเมืองว่าด้วยการบังคับใช้ประมวล กฎหมายอาญา มาตรา 112. (วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรบัณฑิต, คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 2556).
บวรศักดิ์ อุวรรณโณ. กฎหมายมหาชน เล่ม 2. กรุงเทพ: นิติธรรม, 2538.
บวรศักดิ์ อุวรรณโณ. กฎหมายมหาชน เล่ม 3. กรุงเทพ: นิติธรรม, 2538.
บีบีซี ไทย. ถวายสัตย์ : ร. 10 พระราชทานพระราชดำรัสวันถวายสัตย์ พร้อมลายพระราชหัตถ์ แก่ ครม. ประยุทธ์ 2. สืบค้นเมื่อวันที่ 27 พฤษภาคม 2566, https://www.bbc.com/thai/thailand-49472471.
บีบีซี ไทย, เลือกตั้ง 2562: ร.10 โปรดเกล้าฯ อัญเชิญพระบรมราโชวาท ร.9 "ส่งเสริมคนดีปกครอง บ้านเมือง และควบคุมคนไม่ดี ไม่ให้มีอำนาจ", สืบค้นเมื่อวันที่ 27 พฤษภาคม 2566,จาก https://www.bbc.com/thai/thailand-47681835.
ประจักษ์ ก้องกีรติ. แล้วแล้วความเคลื่อนไหวก็ปรากฏ, นนทบุรี: ฟ้าเดียวกัน, 2556.
ปิยบุตร แสงกนกกุล. ““ทฤษฎีรัฐธรรมนูญ” ของ Carl Schmitt.” รัฐศาสตร์สาร 3, ฉ. 3 (2557). 93-125.
ผู้จัดการออนไลน์. ในหลวงมีพระราชประสงค์ให้แก้ร่าง รธน.ปมพระราชอำนาจ นายกฯ ยันมี รัฐบาลใหม่ปี 61, สืบค้นเมื่อวันที่ 27 พฤษภาคม 2566, https://mgronline.com/politics/detail/9600000002986.
พระบรมราชโองการ ประกาศ สถาบันพระมหากษัตริย์ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย. ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 136 ตอน 37 ฉบับพิเศษ (8 กุมภาพันธ์ 2562): 1-2.พระราชบัญญัติคณะสงฆ์ พ.ศ. 2505.
พระราชบัญญัติจัดระเบียบทรัพย์สินพระมหากษัตริย์ พ.ศ. 2561.
แพทริค โจรี. ทฤษฎีกษัตริย์โพธิสัตว์: เวสสันดรชาดกในประวัติศาสตร์ไทย. กรุงเทพฯ: อิลลูมิเนชั่น เอดิชั่น, 2563.
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560.
รายงานการประชุมรัฐสภา ครั้งที่ 14. 15 มกราคม 2492.
รายงานการประชุมสภาร่างรัฐธรรมนูญ ครั้งที่ 39. 2 พฤศจิกายน 2491.
วรเจตน์ ภาคีรัตน์. คำสอนว่าด้วยรัฐและหลักกฎหมายมหาชน. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์อ่าน กฎหมาย, 2564.
วรเจตน์ ภาคีรัตน์. องค์กรอิสระตามบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540. กรุงเทพฯ: คณะกรรมการวิจัยและสัมมนา คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2550.
วิษณุ เครืองาม. กฎหมายรัฐธรรมนูญ. กรุงเทพฯ: นิติบรรณการ, 2530.
ศูนย์ทนายความเพื่อสิทธิมนุษยชน. เปิดคำฟ้องคดีชุมนุม 19 กันยา - คดี MobFest ก่อนศาลไม่ให้ ประกันสี่ แกนนำ. สืบค้นเมื่อวันที่ 16 พฤษภาคม 2566, https://tlhr2014.com/archives/25821?fbclid=IwAR11DWuzASrsxQKrgc2PXugJ FV2Zf1JQRD4ERzrMNyecpXb3R_aM3g61EYU.
ศูนย์ทนายความเพื่อสิทธิมนุษยชน. ศาลเยาวชนฯ พิพากษาจำคุก 2 ปี “เพชร” อ้าง ม.112 คุ้มครองทั้งสถาบันกษัตริย์ แต่เปลี่ยนโทษจำคุกเป็นส่งเข้าศูนย์ฝึกอบรมฯ. สืบค้นเมื่อ วันที่ 16 พฤษภาคม 2566, https://tlhr2014.com/archives/50825.
ศูนย์ทนายความเพื่อสิทธิมนุษยชน. สถิติผู้ถูกดำเนินคดีมาตรา 112 “หมิ่นประมาทกษัตริย์” ปี 2563-2566. สืบค้นเมื่อวันที่ 7 พฤษภาคม 2566, https://tlhr2014.com/archives/23983.
สมชาย ปรีชาศิลปกุล. นิติศาสตร์ไทยเชิงวิพากษ์. กรุงเทพฯ: วิญญูชน, 2549.
สมชาย ปรีชาศิลปกุล. “อำมาตย์ตุลาการอำพราง.” The 101. World. สืบค้นเมื่อวันที่ 30 มกราคม 2566, https://www.the101.world/path-for-judgeship/.
สมชาย ปรีชาศิลปกุล. นี่คือปณิธานที่หาญมุ่ง. นนทบุรี: ฟ้าเดียวกัน, 2561.
สุชิน ตันติกุล. รัฐประหาร พ.ศ. 2490. กรุงเทพฯ: มติชน, 2557.
สุธาชัย ยิ้มประเสริฐ. แผนชิงชาติไทยว่าด้วยรัฐและการต่อต้านรัฐ สมัยจอมพล ป. พิบูลสงคราม ครั้งที่สอง (พ.ศ.2491-2500). กรุงเทพฯ: 6 ตุลารำลึก, 2553.
หลวงประเจิดอักษรลักษณ์. กฎหมายรัฐธรรมนูญ. พระนคร: มหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และ การเมือง, 2477.
หลุยส์ อัลธูแซร์. อุดมการณ์และกลไกทางอุดมการณ์ของรัฐ. กรุงเทพฯ: สยามปริทัศน์, 2557.
อริสโตเติล. Politics หลักรัฐศาสตร์และปรัชญาการเมืองของกรีกโบราณยุคจักรวรรดิ. นนทบุรี: ภาพพิมพ์, 2565.
อานนท์ นำภา. สถาบันพระมหากษัตริย์กับสังคมไทย. ม.ป.ท.: ม.ป.พ., ม.ป.ป.
อาสา คำภา. กว่าจะครองอำนาจนำ. นนทบุรี: ฟ้าเดียวกัน, 2564.
เอมเนสตี้. รายงานสถานการณ์ชุมนุมและการคุกคามปิดกั้นการชุมนุม ระหว่างวันที่ 13 – 21 ตุลาคม 2563. สืบค้นเมื่อวันที่ 27 พฤษภาคม 2566, https://www.amnesty.or.th/latest/blog/830/.
ไอลอว์. เปิดสถิติข้อหา 'ความผิดต่อพระมหากษัตริย์' ที่ขึ้นสู่ศาลระหว่างปี 2549-2563. สืบค้นเมื่อ วันที่ 7 พฤษภาคม 2566, https://freedom.ilaw.or.th/node/923.
Dhani Nivat. “The Old Siamese conception of the Monarchy.” Journal of The Siam of Society 32, iss. 2 (1947): 91-106.
Merieau, Eugenie. Constitutional Bricolage: Thailand’s Scared Monarchy V.S. the Rule of Law. New York: Hart Publishing, 2022.
Miller, Frank O. Minobe Tatsukichi: Interpreter of Constitutionalism in Japan. Los Angeles: University of California Press, 1965.
Minda, Gary. Postmodern Legal Movements: Law and Jurisprudence at Century’s End. New York: New York university press, 1995.
Christie, George C. Jurisprudence: Text And Reading on the Philosophy of Law. Minnesota: West publishing co., 1973.
Kelsen, Hans. General Theory of Law And State. Massachusetts: Harvard university press, 1949.
Oliphant, Herman. “A Return to stare decisis.” American Bar Association Journal 14. No. 2 (1928): 71-76.
Vinx, Lars, and Zeitlin, Samuel Garrett, eds. Carl Schmitt’ Early Legal-Theoretical Writing: Statute and Judgment, and the Value of the State and the Significance of the Individual. United Kingdom: Cambridge University Press, 2021.
Loughlin, Martin. Foundations of Public Law. New York: Oxford university press, 2010.
Troper, Michel. “Constitutional Interpretation.” Israel Law Review 39. Iss. 2 (2006): 35-50.
R. W. M. Dias. Jurisprudence. London: Butterworth, 1970.
Loos, Tamara. Subject Siam: Family, Law, and Colonial Modernity in Thailand. Bangkok: Silkworm books, 2006.