ตุลาการ ปราบดาภิเษก และรัฐประหาร: บทวิพากษ์และข้อสังเกตต่อความสัมพันธ์ทางจารีตและการรับรองความชอบธรรมของรัฐประหาร ในงานวิจัยของ ปริญญา เทวานฤมิตรกุล

Main Article Content

เขมภัทร ทฤษฎิคุณ

บทคัดย่อ

การรับรองความชอบธรรมของการรัฐประหารเป็นประเด็นการศึกษาที่มีความสนใจในวงวิชาการด้านนิติศาสตร์ รัฐศาสตร์ และสังคมศาสตร์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในบริบทของประเทศไทยที่มีการรัฐประหารเกิดขึ้นบ่อยและซ้ำ ๆ งานวิจัยเรื่อง การทำให้รัฐประหารหมดไปด้วยมาตรการทางกฎหมายและการเปลี่ยนบรรทัดฐานของศาลไทย เป็นตัวอย่างหนึ่งของงานวิจัยที่ศึกษาเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างองค์กรตุลาการกับการรัฐประหารในประเด็นเรื่องการรับรองความชอบธรรมของรัฐประหาร โดยงานวิจัยฉบับนี้พยายามสร้างคำอธิบายปรากฏการณ์ยอมรับและสร้างความชอบธรรมให้กับรัฐประหารโดยองค์กรตุลาการผ่านความสัมพันธ์ทางจารีตในสังคมไทย แต่คำอธิบายที่ปรากฏในงานวิจัยนี้สะท้อนความไม่ชัดเจนของความสัมพันธ์ระหว่างองค์กรตุลาการและการรับรองความชอบธรรมของการรัฐประหารจากเหตุผลทางจารีตในสังคมไทย โดยไม่ได้มองมิติความสัมพันธ์ที่ซับซ้อนของจารีตและการรัฐประหาร ความไม่ชัดเจนดังกล่าวนำมาสู่การอภิปรายในทางวิชาการ ซึ่งบทความฉบับนี้ต้องการนำเสนอข้อวิพากษ์และข้อสังเกตต่องานวิจัยในประเด็นดังกล่าว

Article Details

How to Cite
ทฤษฎิคุณ เ. (2024). ตุลาการ ปราบดาภิเษก และรัฐประหาร: บทวิพากษ์และข้อสังเกตต่อความสัมพันธ์ทางจารีตและการรับรองความชอบธรรมของรัฐประหาร ในงานวิจัยของ ปริญญา เทวานฤมิตรกุล. CMU Journal of Law and Social Sciences, 17(2), 30–63. สืบค้น จาก https://so01.tci-thaijo.org/index.php/CMUJLSS/article/view/275525
บท
บทความวิจัย
Author Biography

เขมภัทร ทฤษฎิคุณ, สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย (ทีดีอาร์ไอ)

เขมภัทร ทฤษฎิคุณ, นักวิจัยอาวุโส สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย (ทีดีอาร์ไอ)

References

Acemoglu, Daron, and Robinson, James A. Why Nations Fail: The Origins of Power, Prosperity, and Poverty. London: Profile Books Ltd, 2012.

Béland, Daniel. “Ideas, Interests, and Institutions: Historical Institutionalism Revisited.” in Lecours, André (Ed.), New Institutionalism: Theory and Analysis, Toronto: University of Toronto Press, 2005.

Capoccia, Giovanni. “Critical Junctures.” in Orfeo Fioretos and others (Eds.). The Oxford Handbook of Historical Institutionalism. Oxford: OUP, 2016.

Dressel, Björn. “When Notions of Legitimacy Conflict: The Case of Thailand.” Politics & Policy 38, no. 3 (2010): 445.

Mahoney, James. “Path Dependence in Historical Sociology.” Theory and Society 29, no. 4. 2000: 507.

Peter, Brainard Guy, Institutional Theory in Political Science: The New Institutionalism, 4th Edition. Cheltenham: Edward Elgar Publishing, 2019.

Pierson, Paul. Politics in Time: History, Institutions, and Social Analysis. Princeton: Princeton University Press, 2004.

Steinmo, Sven. “Historical Institutionalism.” in della Porta, Donatella and, Keating Michael (Eds.), Approaches and Methodologies in the Social Sciences:

A Pluralist Perspective, Cambridge: CUP, 2008.

กุลลดา เกษบุญชู มี๊ด. ระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์: วิวัฒนาการรัฐไทย. นนทบุรี: ฟ้าเดียวกัน, 2562.

เขมภัทร ทฤษฎิคุณ. “ความยอกย้อนของการอธิบายสถานะพระราชกฤษฎีกาที่ 1 ในฐานะรัฐธรรมนูญ.” สถาบันปรีดี พนมยงค์. 2 พฤศจิกายน 2566. สืบค้นเมื่อวันที่ 23 กรกฎาคม 2567. https://pridi.or.th/th/content/2023/11/1743.

คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. “การทำให้รัฐประหารหมดไปด้วยมาตรการทางกฎหมาย.” Facebook. 9 ตุลาคม 2566. สืบค้นเมื่อวันที่ 23 กรกฎาคม 2567. https://www.facebook.com/Thammasatlaw/videos/1051560082666942/.

คริส เบเคอร์ และผาสุก พงษ์ไพจิตร. ประวัติศาสตร์อยุธยา ห้าศตวรรษสู่โลกใหม่. กรุงเทพฯ: มติชน, 2563.

ไชยะ เทพา. “การรัฐประหารในการเมืองไทย.” ดุษฎีนิพนธ์ หลักสูตรปริญญาปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (การเมือง) มหาวิทยาลัยรามคำแหง, 2559.

ทองบรรณาการ ทองแถม. เรื่อง ราชาภิเษก. พระนคร: โรงพิมพ์พระจันทร์ 2479.

ธงชัย วินิจจะกูล. รัฐประชาชาติ: ว่าด้วยรัฐไทยในปัจจุบัน. นนทบุรี: ฟ้าเดียวกัน, 2563.

นิธิ เอียวศรีวงศ์. ชาติไทย, เมืองไทย, แบบเรียนและอนุสาวรีย์: ว่าด้วยวัฒนธรรม, รัฐ, และรูปการณ์จิตสำนึก. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ: มติชน, 2563.

______. รากหญ้าสร้างบ้าน ชนชั้นกลางสร้างเมือง. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มติชน, 2552.

______. เสด็จพ่อ ร.5 วีรบุรุษในวัฒนธรรมไทย และประชาชนในรัฐนาฏกรรม. กรุงเทพฯ: มติชน, 2567.

ปริญญา เทวานฤมิตรกุล. “รายงานฉบับสมบูรณ์ การทำให้รัฐประหารหมดไปด้วยมาตรการทางกฎหมายและการเปลี่ยนบรรทัดฐานของศาลไทย.” รายงานวิจัยเสนอต่อคณะกรรมการส่งเสริมงานวิจัย คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2567, https://digital.library.

tu.ac.th/tu_dc/frontend/Info/item/dc:311169.

พันศักดิ์ วิญญรัตน์. คู่มือรัฐประหาร. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์สมมติ, 2556.

พิชญา สุ่มจินดา. สมเด็จพระเจ้าปราสาททอง: รัฐประหาร ความชอบธรรม พิธีกรรม ศิลปะ. กรุงเทพฯ: มูลนิธิพิริยะ ไกรฤกษ์, 2563.

มติชนสุดสัปดาห์. “ย้อนข้อเสนอ “นิติราษฎร์” ปี 54 แถลงการณ์ ล้างผลพวงรัฐประหาร ชงโละ-รธน.-คปค.-คตส.” มติชนสุดสัปดาห์, 6 เมษายน 2566. สืบค้นเมื่อวันที่ 20 กันยายน 2567. https://www.matichonweekly.com/special-scoop/article_664420.

ภูริ ฟูวงศ์เจริญ. “สภาวะเส้นทางบังคับ (Path Dependence): รัฐศาสตร์บนฐานประวัติศาสตร์.” รัฐศาสตร์สาร 36, ฉ.3 (2558): 92.

ลิขิต ธีรเวคิน. ความถูกต้องตามกฎหมาย ความชอบธรรมทางการเมือง และธรรมแห่งอำนาจ. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2556.

วรเจตน์ ภาคีรัตน์, ประวัติศาสตร์ความคิดนิติปรัชญา, พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์อ่านกฎหมาย, 2564.

ศิวพล ชมภูพันธุ์. “การเปลี่ยนแปลงเชิงสถาบันในแนวทางสถาบันนิยมเชิงประวัติศาสตร์.” Academia.edu. สืบค้นเมื่อวันที่ 15 กันยายน 2567. https://www.academia.edu/

/ _การเปลี_ยนแปลงเชิงสถาบั_น_ในแนวทางสถาบันนิยมเชิงประวัติศาสตร_Institutional_Change_in_Historical_Institutionalism_

สมชาย ปรีชาศิลปกุล. “ปัญหาทางกฎหมายบางประการเกี่ยวกับการปฏิวัติ.” วิทยานิพนธ์นิติศาสตรมหาบัณฑิต คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2539.

______. นิติศาสตร์ไทยเชิงวิพากษ์. กรุงเทพฯ วิญญูชน, 2549.

______. “ตุลาการในรัฐประหาร 2490,” The 101.world. 8 พฤศจิกายน 2563. สืบค้นเมื่อวันที่ 3 เมษายน 2567. https://www.the101.world/1947-coup/.

สมยศ เชื้อไทย. คำอธิบายกฎหมายแพ่ง: หลักทั่วไป. พิมพ์ครั้งที่ 28. กรุงเทพฯ: วิญญูชน, 2564.

สุชิน ตันติกุล. รัฐประหาร พ.ศ. 2490. กรุงเทพฯ: มติชน, 2557.

อเนก มากอนันต์. จักรพรรดิราช: คติอำนาจเบื้องหลังชนชั้นนำไทย. กรุงเทพฯ มติชน, 2561.

อรรจักร์ สัตยานุรักษ์. การเปลี่ยนแปลงโลกทัศน์ของชนชั้นผู้นำไทย ตั้งแต่รัชกาลที่ 4 ถึงพุทธศักราช 2475. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์สมมติ, 2565.