นิติเศรษฐศาสตร์ของการบังคับใช้กฎหมายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล: มุมมองจากทฤษฎีตัวการ-ตัวแทน

Main Article Content

วัชรพล ศิริ
เขมภัทร ทฤษฎิคุณ

บทคัดย่อ

บทความนี้เป็นการทดลองนำมโนทัศน์ปัญหาตัวการ-ตัวแทน ซึ่งเป็นแนวคิดในทางเศรษฐศาสตร์มาประยุกต์ใช้กับการวิเคราะห์สภาพปัญหาการบังคับใช้กฎหมายไทย โดยอาศัยตัวอย่างการศึกษาคือ พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562  ทั้งนี้ การศึกษาในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทำความเข้าใจปัญหาการบังคับใช้กฎหมายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลของไทยผ่านแนวคิดปัญหาตัวการ-ตัวแทน โดยกำหนดให้ฝ่ายนิติบัญญัติเป็นตัวการ และหน่วยงานของรัฐอื่นเป็นตัวแทนที่ต้องทำตามเจตนารมณ์ของตัวการ


อย่างไรก็ดี จากการศึกษาพบว่าสภาพปัญหาตัวการ-ตัวแทนที่เกิดขึ้นจากพระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 มีสาเหตุมาจากปัญหาความไม่สมมาตรของข้อมูลและจริยธรรมวิบัติ ซึ่งทำให้การบังคับใช้กฎหมายไม่ตอบสนองต่อเจตนารมณ์ของฝ่ายนิติบัญญัติ (ตัวการ) โดยผู้เขียนได้นำเสนอบทวิเคราะห์สภาพปัญหานี้โดยอาศัยตัวอย่างการศึกษา 2 ประการคือ (1) ความขัดแย้งระหว่างตัวการ-ตัวแทนในการตรากฎหมายลำดับรอง และความขัดแย้งระหว่างตัวการ-ตัวแทนในการตีความกฎหมาย  อนึ่ง การศึกษากฎหมายผ่านทฤษฎีตัวการ-ตัวแทนนี้จะมีประโยชน์ต่อการวิพากษ์และการเสนอแนะเพื่อแก้ไขกฎหมายต่อไป

Article Details

How to Cite
ศิริ ว., & ทฤษฎิคุณ เ. . (2024). นิติเศรษฐศาสตร์ของการบังคับใช้กฎหมายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล: มุมมองจากทฤษฎีตัวการ-ตัวแทน. CMU Journal of Law and Social Sciences, 17(2), 145–176. สืบค้น จาก https://so01.tci-thaijo.org/index.php/CMUJLSS/article/view/275731
บท
บทความวิจัย

References

Weingast, Barry R., and Mark J. Moran. “Bureaucratic Discretion or Congressional Control? Regulatory Policymaking by the Federal Trade Commission.” Journal of Political Economy 91, no. 5 (1983): 765. https://www.jstor.org/stable/pdf/1837369.

Brinnen, Martin, and Daniel Westman. “What’s Wrong with GDPR?: Description of the Challenges for Business and Some Proposals for Improvement.” Svenskt Naringsliv, December 2019. Accessed September 25, 2024. https://www.svensktnaringsliv.se/material/skrivelser/xf8sub_whats-wrong-with-the-gdpr-webbpdf_1005076.html.

Gunn, Jiravuttipong, and Khemmapat Trasadikoon. “Examining the Benefits and Challenges of Thailand’s Latest Data Protection Law.” Tech for Good Institute, July 2023. Accessed September 25, 2024. https://techforgoodinstitute.org/blog/expert-opinion/examining-the-benefits-and-challenges-of-thailands-latest-data-protection-law/.

Investopedia Team. “Principal-Agent Problem Causes, Solutions, and Examples Explained.” Investopedia, June 15, 2024. Accessed August 15, 2024. https://www.investopedia.com/terms/p/principal-agent-problem.asp.

Kim, Pauline T. “Beyond Principal-Agent Theories: Law and the Judicial Hierarchy.” Northwestern University Law Review 105, no. 2: 535. Accessed September 25, 2024. https://scholarlycommons.law.northwestern.edu/cgi/viewcontent.cgi?article=1167&context=nulr.

Mohammed, Saqr. “Is GDPR Failing?: A Tale of the Many Challenges in Interpretations, Applications, and Enforcement.” International Journal of Health Sciences 16, no. 5 (2022): 1.

Posner, Eric A. “Agency Models in Law and Economics.” University of Chicago, 2000. Accessed September 25, 2024. https://chicagounbound.uchicago.edu/cgi/viewcontent.cgi?article=1036&context=law_and_economics.

Ward, Robert C. “State Library and Local Public Library Relationships: A Case Study of Legislative Conflict Within South Carolina from the Principle/Agent Perspective.” Public Library Quarterly 23, no. 1 (2004): 43. https://dx.doi.org/10.1300/J118v23n01_08.

Soudry, Ohad. “A Principal-Agent Analysis of Accountability in Public Procurement.” In Advancing Public Procurement: Practices, Innovation and Knowledge Sharing, edited by Khi V. Thai and Gustavo Piga. PrAcademics Press, 2006. https://www.ippa.org/IPPC2/BOOK/Chapter_19.pdf.

Shah, Sunit N. The Principal-Agent Problem in Finance. CFA Institute Research Foundation, 2014. https://ssrn.com/abstract=2574742.

Jacobi, Tonja. “The Law and Economics of the Exclusionary Rule.” Notre Dame Law Review 87, no. 2 (2011): 585. https://scholarship.law.nd.edu/ndlr/vol87/iss2/3.

กรุงเทพธุรกิจ. “ประเสริฐ เผยจ่อแก้กฎหมาย 3 ฉบับเพิ่มโทษแก๊งค์คอลเซ็นเตอร์.” กรุงเทพธุรกิจ, 28 พฤศจิกายน 2566. สืบค้นเมื่อ 25 กันยายน 2567. https://www.bangkokbiznews.com/politics/1100958.

กองบรรณาธิการสำนักกฎหมาย. “มาตรการและแนวทางในการบังคับใช้กฎหมายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลของไทยอย่างมีประสิทธิภาพ.” จุลนิติ 17, ฉ. 4 (2563): 1.

เขมภัทร ทฤษฎิคุณ. “ช่องโหว่กฎหมาย PDPA เมื่อ ‘Big Brother’ จ้องคุกคามความเป็นส่วนตัวของประชาชน.” Way Magazine, 26 กรกฎาคม 2565. สืบค้นเมื่อ 25 กันยายน 2567. https://waymagazine.org/pdpa-big-brother/.

______. “ยกเว้น กฎหมาย ‘PDPA’ กับผลที่ตามมา.” TDRI, 11 สิงหาคม 2565. สืบค้นเมื่อ 25 กันยายน 2567. https://tdri.or.th/2022/08/pdpa-waiving-enforcement/.

คำพิพากษาศาลจังหวัดภูเก็ต. คดีหมายเลขแดงที่ อ 1087/2566.

คำพิพากษาศาลจังหวัดภูเก็ต. คดีหมายเลขแดงที่ อ 1145/2566.

จดหมายจากสำนักนายกรัฐมนตรี. หนังสือสำนักนายกรัฐมนตรี ที่ นร 0503/42434 ลงวันที่ 25 ธันวาคม 2561 เรื่อง ร่างพระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. ....

ไทยรัฐ. “เมื่อข้อมูลยังไม่ปลอดภัย รู้จัก พ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล ที่ถูกเลื่อนไปอีกหนึ่งปี.” ไทยรัฐออนไลน์, 10 พฤษภาคม 2564. สืบค้นเมื่อ 20 สิงหาคม 2567. https://www.thairath.co.th/news/politic/2088106.

ธรรมนิติ. “ความพึงพอใจต่อการเลื่อนบังคับใช้พ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล ปี 2562 (PDPA).” ธรรมนิติ, มปป. สืบค้นเมื่อ 25 กันยายน 2567. https://www.dharmniti.co.th/sliding-force-pdpa-2562-result/.

นันทวัชร์ นวตระกูลพิสุทธิ์. คำอธิบายหลักกฎหมายเอกเทศสัญญา ลักษณะตัวแทน-นายหน้า. กรุงเทพฯ: โครงการตำราและเอกสารประกอบการสอน คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2556.

มติคณะรัฐมนตรี. เรื่อง ร่างพระราชกฤษฎีกากำหนดลักษณะ กิจการ หรือหน่วยงานที่ได้รับการยกเว้นไม่ให้นำพระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 บางส่วนมาใช้บังคับ พ.ศ. .... ดศ. (11 กรกฎาคม 2566).

______. เรื่อง ร่างพระราชกฤษฎีกากำหนดหน่วยงานและกิจการที่ผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคลไม่อยู่ภายใต้บังคับแห่งพระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 พ.ศ. .... ดศ. (19 พฤษภาคม 2563).

______. เรื่อง รายงานเหตุผลที่ไม่อาจดำเนินการออกระเบียบและประกาศตามความในพระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562. ดศ. (5 พฤษภาคม 2564).

สำนักข่าวอิศรา. “ใครเป็นใคร! คกก.คุ้มครองข้อมูลฯ 10 ชื่อ ก่อน 'บิ๊กรบ.' สั่งทบทวนใหม่เปิดกว้างทุกฝ่าย.” สำนักข่าวอิศรา, 24 กรกฎาคม 2563. สืบค้นเมื่อ 12 กันยายน 2567. https://www.isranews.org/article/isranews-scoop/90606-PDPAA.html.

สำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา. รายงานการประชุมสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ครั้งที่ 18/2562 วันพุธที่ 27 กุมภาพันธ์ 2562.

______. รายงานการประชุมสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ครั้งที่ 19/2562 วันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2562.

______. รายงานการประชุมสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ครั้งที่ 91/2562 วันศุกร์ที่ 28 ธันวาคม 2562.

อานนท์ มาเม้า. “ทำคลอดช้าไปสองปีกว่าจะโทษใคร.” Facebook, 18 มกราคม 2565. สืบค้นเมื่อ 12 กันยายน 2567. https://www.facebook.com/arnon.mamout/posts/pfbid02YEQY2QWLxBNL2snRMBVwJYh5tCRmkkxWsZ29CWTBpBksCtbqX6G4JtKegdAXcGPXl.