คนนอกอยากเข้า From Aliens to Thai Citizenship

Main Article Content

กิติวรญา รัตนมณี

บทคัดย่อ

บทความฉบับนี้มีความมุ่งหมายที่จะแสวงหาคำตอบ 4 ประการ เกี่ยวกับคนต่างด้าวที่เคลื่อนย้ายถิ่นฐาน หรืออพยพข้ามแดนเข้ามาอาศัยอยู่ในประเทศไทย กล่าวคือ ประการแรก ใครบ้างเป็นคนต่างด้าวที่อยากเข้ามาอาศัยในประเทศไทย? ประการที่สอง เพราะเหตุใดคนต่างด้าวกลุ่มนี้จึงเข้ามาในประเทศไทย? ประการที่สาม คนต่างด้าวเหล่านี้มีความหวังและความฝันในการใช้ชีวิตอย่างไร? มีความกลมกลืนกับรัฐไทยแค่ไหน? และ ประการสุดท้าย ประเทศไทยมีกฎหมายรวมถึงนโยบายที่จะทำให้คนกลุ่มนี้มีสิทธิในสัญชาติไทยได้อย่างไร? โดยศึกษาจาก 6 กรณีศึกษา

This paper aims to seek answers for four questions regarding aliens or immigrants who came to live in Thailand. Firstly, according to Thai’s laws, who are the aliens? Secondly, why do they want to enter and live in Thailand? Thirdly, what are their hope and dream in life? Are those in harmony with Thai State? Finally, how could Thai’s laws and policies could help in granting citizenship to such aliens? The answers to these questions are based on six case studies which represent aliens in Thailand.    

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

กฎหมายและนโยบายที่เกี่ยวข้อง

กฎกระทรวง (พ.ศ.2510) ออกตามความในพระราชบัญญัติสัญชาติ พ.ศ.2508

กฎกระทรวงกำหนดแบบ วิธีการ และค่าธรรมเนียมในการยื่นคำขอเกี่ยวกับการได้สัญชาติไทย การแปลงสัญชาติเป็นไทย และการกลับคืนสัญชาติไทยสำหรับคนต่างด้าวซึ่งเป็นชนกลุ่มน้อย พ.ศ.2545

พระราชบัญญัติการทะเบียนราษฎร พ.ศ.2534 ซึ่งถูกแก้ไขและเพิ่มเติมโดย พระราชบัญญัติการทะเบียนราษฎร (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2551

พระราชบัญญัติคนเข้าเมือง พ.ศ.2522 ซึ่งถูกแก้ไขและเพิ่มเติมโดย พระราชบัญญัติคนเข้าเมือง(ฉบับที่ 2 ) พ.ศ.2523 และพระราชบัญญัติคนเข้าเมือง (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2542

พระราชบัญญัติสัญชาติ พ.ศ.2508 ซึ่งถูกแก้ไขและเพิ่มเติมโดย พระราชบัญญัติสัญชาติ(ฉบับที่ 2 และ 3) พ.ศ.2535 ตลอดจนพระราชบัญญัติสัญชาติ(ฉบับที่ 4) พ.ศ.2551 และพระราชบัญญัติสัญชาติ(ฉบับที่ 5) พ.ศ.2555

วิทยานิพนธ์

กิติวรญา รัตนมณี. (2552). คนต่างด้าวในทะเบียนราษฎรไทย. วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

ดรุณี ไพศาลพาณิชย์กุล. (2548). สิทธิในการมีเอกสารพิสูจน์ทราบตัวบุคคลในรัฐไทย. วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

หนังสือ

พรพิมล ตรีโชติ. (2551). การต่างประเทศพม่า: ปฏิสัมพันธ์กับเพื่อนบ้านและชนกลุ่มน้อย. หน่วยปฏิบัติการวิจัยแม่โขงศึกษา สถาบันเอเชียศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

อัจฉรา สุทธิสุนทรินทร์. (2553). คนสองทะเบียนราษฎร กรณีแรงงานต่างด้าว: จุดเริ่มต้นของการเชื่อมฐานข้อมูลประเทศต้นทางกับประเทศไทย, รายงานสถานการณ์ด้านสถานะบุคคลและสิทธิของคนไร้รัฐ/ไร้สัญชาติประจำปี 2553. สถาบันวิจัยและพัฒนาเพื่อเฝ้าระวังสภาวะไร้รัฐ.

สื่ออิเล็กทรอนิกส์

กิติวรญา รัตนมณี. (2554). กรณีศึกษา: นางแสนถี (หรือป้าสันที) คนมอญไร้สัญชาติจากทวาย ที่มีจุดเกาะเกี่ยวกับประเทศไทย. สืบค้นวันที่ 30 กรกฎาคม 2559, จาก https://www.gotoknow.org/posts/470819

ดรุณี ไพศาลพาณิชย์กุล. (2552). ห้าคูณหก: สูตรคูณความคิดและปฏิบัติการเพื่อการพัฒนาสถานะบุคคลตามกฎหมายไทย. สืบค้นวันที่ 30 กรกฎาคม 2559, จาก http://www.archanwell.org/autopage/show_page.php?t=1&s_id=435&d_id=434

________. (2554). บันทึกถึงระหว่างทางการเปลี่ยนผ่านจากความไร้รัฐ ไร้สัญชาติ ของคนมอญอพยพสามรุ่นในรัฐไทย. สืบค้นวันที่ 30 กรกฎาคม 2559, จาก https://www.gotoknow.org/posts/469711

________. (2557). แนวคิดทางกฎหมายในการพิสูจน์และพัฒนาสิทธิในสถานะบุคคลตามกฎหมาย. วิทยานิพนธ์ดุษฎีบัณฑิต คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

บุญยืน สุขเสน่ห์. (2555). 30 ปี ในประเทศไทยของครอบครัวสุขเสน่ห์, . สืบค้นวันที่ 30 กรกฎาคม 2559, จาก http://www.wungfon.com/index.php?option=com_content&view=article&id=783:2011-11-17-18-03-09&catid=178:2011-07-05-02-33-10&Itemid=218

ปุณฑวิชญ์ ฉัตรมงคลชาติ. (2554). กรณีศึกษา: อายุ นามเทพ. สืบค้นวันที่ 30 กรกฎาคม 2559,

จาก https://www.gotoknow.org/posts/424605

พันธุ์ทิพย์ กาญจนะจิตรา สายสุนทร. (2547). ความเป็นคนไร้รัฐและคนไร้สัญชาติในประเทศไทย: คืออะไร? และควรจัดการอย่างไร?, หนังสือที่ระลึกวันรพี 2547 ของคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ สืบค้นวันที่ 30 กรกฎาคม 2559, จาก http://www.archanwell.org/office/download.php?id=402&file=376.pdf&fol=2

________. (2548). คำอธิบายกฎหมายสัญชาติไทย. (พิมพ์ครั้งที่. 4). กรุงเทพฯ:วิญญูชน.

________. (2550). คนที่มีสัญชาติต่างประเทศแต่สัญชาตินี้ไม่ก่อสุขภาวะอันพึ่งมี จึงเป็นเสมือนคนไร้สัญชาติ สืบค้นวันที่ 30 กรกฎาคม 2559,

จาก https://www.gotoknow.org/posts/28786

________. (2553). กรณีอาจารย์อายุ นามเทพ. สืบค้นวันที่ 30 กรกฎาคม 2559, จาก http://www.archanwell.org/autopage/show_page.php?t=2&s_id=55&d_id=56 (สืบค้นเมื่อ 30 กรกฎาคม 2559)

________. (2554). รวมงานเขียนเกี่ยวกับกรณีศึกษาเด็กชายวิษณุ บุญชาและครอบครัว: คนไร้รัฐไร้สัญชาติแห่งสมุทรปราการ. สืบค้นวันที่ 30 กรกฎาคม 2559, จาก http://www.archanwell.org/autopage/show_page.php?t=2&s_id=64&d_id=57

________. (2556). กรณีศึกษาครอบครัวสุขเสน่ห์.สืบค้นวันที่ 30 กรกฎาคม 2559, จาก

https://www.gotoknow.org/posts/537195

อายุ นามเทพ. (2548). อายุ (โพ) นามเทพ: คนไร้รัฐและมนุษย์ล่องหน. สืบค้นวันที่ 30 กรกฎาคม 2559, จาก http://www.archanwell.org/autopage/show_page.php?t=1&s_id=230&d_id=229

บรรณานุกรมไทยที่แปลเป็นภาษาอังกฤษ

Thesis

Paisanpanichkul, D. (2009). Right to identification paper in Thai state. LLM. Faculty of Law Thammasart University. (in Thai)

Rattanamanee, K. (2009). Alien in Thai Civil Registration Law. LLM. Faculty of Law Thammasart University. (in Thai)

Books

Treechot, P. (2008). Myanmar's foreign affairs with neighboring countries in ethnic minority context. Mekong Studies Center. Institute of Asian Studies Chulalongkorn University. (in Thai)

Suthisoontarin, A. (2010). Migrant workers who registered more than one registration systems. Annual report of stateless and nationality-less personal legal status in Thailand. Stateless Watch. (in Thai)

Electronic databases

Chatmogcolchart, P. (2008). Case Study of Mrs. Ayu Namtep. Retrived July 30, 2016 from https://www.gotoknow.org/posts/424605

Namtep, A. (2005). Ayu Po Namtep: stateless and the invisible man. Retrived July 30, 2016 from http://www.archanwell.org/autopage/show_page.php?t=1&s_id=230&d_id=229 (in Thai)

Paisanpanichkul, D. (2009). 5x6: how to develop the right to personal status. Retrived July 30, 2016 from http://www.archanwell.org/autopage/show_page.php?t=1&s_id=435&d_id=434 (in Thai)

________. (2011). Memory of three generation in Mon family who live in Thailand. Retrived July 30, 2016 from https://www.gotoknow.org/posts/469711 (in Thai)

________. (2014). Legal concept to verify and develop the right to personal status. Phd. Faculty of Law Thammasart University. (in Thai)

Rattanamanee, K. (2011). Case Study of Mrs.Sandhi. Retrived July 30, 2016 from https://www.gotoknow.org/posts/470819 (in Thai)

Saisoonthorn, P. (2004). Stateless and nationality-less in Thailand : how to manage?. Repee Journal. Faculty of Law Thammasart University. Retrived July 30, 2016 from http://www.archanwell.org/office/download.php?id=402&file=376.pdf&fol=2 (in Thai)

________. (2005). Commentary of nationality law. (4th Edition). Bangkok:Winyuchon. (in Thai)

________. (2007). Aliens who seem nationality-less people. Retrived July 30, 2016 from https://www.gotoknow.org/posts/28786 (in Thai)

________. (2010). Case Study of Mrs. Ayu Namtep. Retrived July 30, 2016 from http://www.archanwell.org/autopage/show_page.php?t=2&s_id=55&d_id=56 (in Thai)

________. (2011). Case Study of Vissanu Booncha and his family: stateless who live in Samut Prakarn Province. Retrived July 30, 2016 from http://www.archanwell.org/autopage/show_page.php?t=2&s_id=64&d_id=57 (in Thai)

________. (2013). Case Study of Sooksane’s family. Retrived July 30, 2016 from https://www.gotoknow.org/posts/537195 (in Thai)

Sooksane B. (2011). 30 years in Thailand of Sooksane’s family. Retrived July 30, 2016 from http://www.wungfon.com/index.php?option=com_content&view=article&id=783:2011-11-17-18-03-09&catid=178:2011-07-05-02-33-10&Itemid=218