อิทธิพลสื่อประชาสัมพันธ์ที่มีผลต่อการตัดสินใจศึกษาต่อของนักเรียนในสถาบันการอาชีวศึกษาภาคเหนือ

Main Article Content

ณฐวัฒน์ พระงาม

Abstract

The purpose of this research was to 1) study the media perceptions and behaviors of students at the Institute of Vocational Education in the Northern Region; 2) study the levels indicating decision making of students to continue their education at Institute of Vocational Education in Sukhothai, Phitsanulok, Uttaradit, and Phetchabun; and 3) to investigate the influence of public relations media on students’ decision making. The purpose of this research was to 1) study the media perceptions and behaviors of students at the Institute of Vocational Education in the Northern Region; 2) study the levels indicating decision making of students to continue their education at Institute of Vocational Education in Sukhothai, Phitsanulok, Uttaradit, and Phetchabun; and 3) to investigate the influence of public relations media on students’ decision making.  This study was quantitative research. Samples were comprised of 345 first-year students selected by stratified random sampling from eight institutions. The research instrument was five-point scale questionnaires. Data analysis was done by using of statistical techniques like percentage, frequency, mean, standard deviations, exploratory factor analysis, and stepwise multiple regression analysis. It was revealed that the decision making of the students to continue their education at the institutions was positively influenced by the media at .01 level of statistical significance. Supporting factors were listed from the highest to the lowest means were personal media (PerM), printed media (PubM), and special activities media (SpeM). The forecast formula in a form of standard score is Zy’ = 0.291Z2 (PerM) + 0.268Z5 (PubM) + 0.141Z1 (SpeM).


 


บทคัดย่อ


การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาพฤติกรรมการรับรู้สื่อประชาสัมพันธ์ของนักเรียนในสถาบันการอาชีวศึกษาภาคเหนือ 2) เพื่อศึกษาระดับการตัดสินใจเข้าศึกษาต่อของนักเรียนในสถาบันการอาชีวศึกษาภาคเหนือ และ 3) เพื่อศึกษาอิทธิพลสื่อประชาสัมพันธ์ที่มีผลต่อการตัดสินใจศึกษาต่อของนักเรียนในสถาบันการอาชีวศึกษาภาคเหนือ 4 จังหวัด ประกอบด้วย สุโขทัย พิษณุโลก อุตรดิตถ์ และเพชรบูรณ์ โดยใช้วิธีวิจัยเชิงปริมาณ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ นักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1 จาก 8 สถาบัน ใช้วิธีการสุ่มแบบแบ่งชั้นภูมิ ได้กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 345 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน วิเคราะห์ปัจจัยองค์ประกอบเชิงสำรวจ และสถิติวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ แบบขั้นตอน ผลการวิจัยพบว่า การตัดสินใจศึกษาต่อของนักเรียนในสถาบันการอาชีวศึกษาภาคเหนือ ได้รับอิทธิพลเชิงบวกจากสื่อประชาสัมพันธ์อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 โดยเรียงลำดับค่าสัมประสิทธิ์การพยากรณ์จากมากไปน้อย ได้แก่ สื่อบุคคล (PerM) สื่อสิ่งพิมพ์ (PubM) สื่อกิจกรรมพิเศษ (SpeM) สมการพยากรณ์ในรูปคะแนนมาตรฐาน คือ Zy’ = 0.291 (PerM) + 0.268 (PubM) + 0.141 (SpeM)

Article Details

Section
บทความวิจัย (Research Article)

References

เกรียงไกร กาญจนะโภคิน. (2555). Event Marketing. กรุงเทพฯ: พิฆเณศ พริ้นติ้ง เซ็นเตอร์.

ขวัญฤทัย บุญยะเสนา, และ นปภัช ถิรพัฒน์ธนโภคิน. (2558). การสื่อสารการตลาดเชิงบูรณาการที่มีผลต่อการตัดสินใจของนักศึกษาในการเลือกเข้าศึกษาต่อระดับปริญญาตรี: กรณีศึกษาคณะบริหารธุรกิจมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร (รายงานการวิจัย). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร.

เขมณัฏฐ์ มิ่งศิริธรรม. (2556). Social Media สื่อสร้างสรรค์เพื่อการศึกษา. Veridian E-Journal Silpakorn University (Humanities, Social Scienes and arts), 6(1), 72-81.

จเรวัฒน์ เทวรัตน์. (2555). พฤติกรรมและความต้องการของผู้สมัครเรียนในการเปิดรับสื่อประชาสัมพันธ์ของศูนย์วิทยพัฒนา มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช นครศรีธรรมราช (รายงานการวิจัย). นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

ณัฐา ฉางชูโต. (2554) กลยุทธ์การประชาสัมพันธ์ภายใต้กระแส Social Network. วารสารนักบริหาร, 31(2), 173-183.

นงลักษณ์ วิรัชชัย. (2538). ความสัมพันธ์โครงสร้างเชิงเส้น (LISREL) สถิติวิเคราะห์สำหรับการวิจัยทางสังคมศาสตร์และพฤติกรรมศาสตร์. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ปัญจา ชูช่วย. (2559, 23 มิถุนายน). ปัจจัยในการให้บุตรหลานศึกษาต่อในสถาบันอาชีวศึกษาของผู้ปกครองในพื้นที่เฉพาะกิจ จังหวัดชายแดนใต้. ใน การประชุมหาดใหญ่วิชาการระดับชาติ และนานาชาติ ครั้งที่ 7. มหาวิทยาลัยหาดใหญ่, สงขลา.

ภัคชุดา เสรีรัตน์. (2560). ปัจจัยจำแนกการตัดสินใจศึกษาต่อระดับอาชีวศึกษาของนักเรียนในกลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝั่งอ่าวไทย (วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต). มหาวิทยาลัยหาดใหญ่, สงขลา.

วิภูษิต ทองพิทักษ์. (2551). การออกแบบสื่อสิ่งพิมพ์เพื่อสร้างภาพลักษณ์ธุรกิจจำหน่ายสินค้าพรีเมี่ยมและของขวัญ: กรณีศึกษา บริษัท แอ็ดไมร ดีไซน์ แอนด์ ครีเอชั่น (ประเทศไทย) จำกัด (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต).
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, เชียงใหม่.

วิลาวัณย์ เรืองปฏิกรณ์. (2546). ความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมการเปิดรับสื่อเพื่อการสื่อสารการตลาดกับความรู้ทัศนคติและพฤติกรรมการท่องเที่ยวในโครงการไทยเที่ยวไทย (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, กรุงเทพฯ.

วิศาล ภุชฌงค์, อเนก พันธุรัตน์, และ บุญส่ง เกิดหล่ำ. (2559). ปัจจัยในการตัดสินใจเลือกศึกษาต่อระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพของนักเรียนในวิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการลพบุรี. วารสารวิทยาลัยนครราชสีมา, 11(2), 129-140.

ศุภศิลป์ กุลจิตต์เจือวงศ์. (2555). 2022 วิวัฒนาการการสื่อสารแห่งโลกอนาคต. Veridian E-Journal Silpakorn University (Humanities, Social Scienes and arts), 5(2), 69.

สนิท หฤหรรษวาสิน, และ ไพบูลย์ เกียรติโกมล. (2551). องค์ประกอบที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจเลือกศึกษาต่อของผู้สำเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลายสายสามัญ ในระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจโรงเรียนเอกชน ประเภทอาชีวศึกษา ในจังหวัดกรุงเทพมหานคร (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี, กรุงเทพฯ.

สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2550). รายงานวิกฤติการศึกษาไทย. กรุงเทพฯ: ม.ป.ท.

อนุ เจริญวงศ์ระยับ. (2561). ปัจจัยจำแนกความคงทนในการตัดสินใจศึกษาต่ออาชีวศึกษา. วารสารหาดใหญ่วิชาการ, 16(1), 55-76.

อโนชา งามจิต, และ บุญญานุช ชีวาเกียรติยิ่งยง. (2559, 29 กรกฎาคม). การสื่อสารการตลาดแบบบูรณาการที่ส่งผลต่อการตัดสินใจเข้าศึกษาต่อระดับอาชีวศึกษาในสถาบันอาชีวศึกษาเอกชน จังหวัดพะเยา. ใน การประชุมวิชาการงานวิจัยระดับชาติ ราชธานีวิชาการ ครั้งที่ 1. มหาวิทยาลัยราชธานี, อุบลราชธานี.

อภิชญา อยู่ในธรรม. (2555). ประเภทสื่อโฆษณา ใน เอกสารการสอนชุดวิชา สื่อโฆษณา หน่วยที่ 1-7. นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

อภิชัจ พุกสวัสดิ์, และ กุลทิพย์ ศาสตระรุจิ. (2556). การประชาสัมพันธ์ภายใต้กระแสสื่อสังคมออนไลน์. วารสารการประชาสัมพันธ์และการโฆษณา, 6(2), 24-38.

อรชร มณีสงฆ์. (2546). การตลาดทางตรง. กรุงเทพฯ: The Knowledge Center.

อินทร์อร ไตรศักดิ์. (2557). การสื่อสารการตลาดแบบบูรณาการที่มีผลต่อการตัดสินใจเข้าศึกษาต่อของนักศึกษาในสำนักงานการอาชีวศึกษา จังหวัดนครราชสีมา (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี, ปทุมธานี.

Best, J. W. (1981). Research in education (4th ed.). New Jersey: Prentice-Hall.

Cutlip, S. M., Center, A. H., & Broom, G. M. (2006). Effective public relations (9th ed.). Upper Saddle River, NJ: Prentice-Hall.

Pickton, D., & Broderick, A. (2001). Integrated marketing communications. Corporate Communications: An International Journal, 6(1), 716.

Katz, E., & Lazarsfeld, P. E. (1995). Personal Influence. New York: The Free Press of Glencoe.

Kotler, P., & Armstrong, G. (2004). Principles of marketing (10th ed.). Upper Saddle River, NJ: Pearson Prentice Hall.

Lazarsfeld, P. F., & Menzel, H. (1968). Mass media and personal influence. In W. Schramm (Ed.), The science of human communication (pp. 95-115). New York: The Basic Books.

Nielsen Company. (2011). Global online consumer survey Q3 2010. Retrieved from https://www.nielsen.com/content/dam/corporate/us/en/reports-downloads/ Nielsen Global Consumer Confidence Survey/2010/Nielsen-Global-ConsumerConfidence-Survey-Q3-2010.pdf

Rogers, E. M. (2003). Diffusion of innovation (5th ed.). New York: The Free Press.

Rogers, E. M., & Shoemaker F. F. (1971). Communication of innovation: A cross-cultural approach. New York: The Free Press.

Ronald, D. S. (2009). Strategic planning for public relations (3rd ed.). New York: Routledge.

Schiffman, L. G., & Kanuk, L. L. (2007). Consumer behavior (9th ed.). New Jersey: Prentice-Hall.

Schramm, W. (1973). Channel and Audience: Handbook of communication. Chicago: Ran Mcnally College.

Tai, J. W. C., Wang, C. E., & Huang C. E. (2007). The correlation between school marketing strategy and the school image of vocational high schools. The Business Review, 8(2), 191-197.