อิทธิพลของความยืดหยุ่นทนทาน กลวิธีเผชิญปัญหา และการศึกษา ต่อสุขภาพจิตของทหารพรานที่ปฏิบัติหน้าที่ในพื้นที่ความไม่สงบชายแดนใต้

Main Article Content

ดวงมณี จงรักษ์
เพ็ญประภา ปริญญาพล

Abstract

This study aimed to study the influence of resilience, coping strategies, and education on the mental health of Thai rangers in three Southern provinces. The samples were 384 rangers deployed in Yala, Pattani, and Narathiwat provinces whose average age were 29 years old (mean = 29.23, S.D. = 6.74). Research instruments were the Thai Mental Health Indicator, the Conner-Davidson Resilience Scale, and the Coping Strategies indicator. Multiple regression analyses were applied. All predicted variables were correlated moderately, not violating the regression assumption. The resilience scores were mildly lower than the average, while scores on coping strategies and mental health were on an average level. Finally, resilience, coping strategies, and education could impact variance scores of mental health at about 24% (p =.05). The prediction equation was (p =.05). The prediction equation was  Mental health = 41.57 + .43* resilience + 1.23* coping strategies + 2.41* education


 


บทคัดย่อ


การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาอิทธิพลของความยืดหยุ่นทนทาน กลวิธีเผชิญปัญหา และการศึกษา ต่อการทำนายสุขภาพจิตของทหารพรานในชายแดนใต้ กลุ่มตัวอย่าง คือ ทหารพรานปฏิบัติหน้าที่ในจังหวัดยะลา ปัตตานี และนราธิวาส จำนวน 384 คน ซึ่งเป็นเพศชายทั้งหมด อายุเฉลี่ย 29 ปี (Mean = 29.23 S.D. = 6.74) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล แบบดัชนีชี้วัดสุขภาพจิตคนไทย แบบวัดความยืดหยุ่นทนทานของ Connor and Davidson แบบวัดกลวิธีเผชิญปัญหาของ Amirkhan วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติการถดถอยพหุคูณ ผลการวิจัยพบว่า ตัวแปรที่นำมาทำนายมีความสัมพันธ์กันโดยไม่ละเมิดสมมุติฐานการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณ โดยพบว่าทหารพรานมีความยืดหยุ่นทนทานในระดับต่ำกว่าปกติเล็กน้อย ขณะที่มีกลวิธีเผชิญปัญหาและสุขภาพจิตอยู่ในระดับปกติ ความยืดหยุ่นทนทาน กลวิธีเผชิญปัญหา และการศึกษา สามารถทำนายความแปรปรวนในคะแนนสุขภาพจิตร้อยละ 24 ที่ระดับนัยสำคัญ .05 โดยมีสมการการทำนาย ดังนี้การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาอิทธิพลของความยืดหยุ่นทนทาน กลวิธีเผชิญปัญหา และการศึกษา ต่อการทำนายสุขภาพจิตของทหารพรานในชายแดนใต้ กลุ่มตัวอย่าง คือ ทหารพรานปฏิบัติหน้าที่ในจังหวัดยะลา ปัตตานี และนราธิวาส จำนวน 384 คน ซึ่งเป็นเพศชายทั้งหมด อายุเฉลี่ย 29 ปี (Mean = 29.23 S.D. = 6.74) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล แบบดัชนีชี้วัดสุขภาพจิตคนไทย แบบวัดความยืดหยุ่นทนทานของ Connor and Davidson แบบวัดกลวิธีเผชิญปัญหาของ Amirkhan วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติการถดถอยพหุคูณ ผลการวิจัยพบว่า ตัวแปรที่นำมาทำนายมีความสัมพันธ์กันโดยไม่ละเมิดสมมุติฐานการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณ โดยพบว่าทหารพรานมีความยืดหยุ่นทนทานในระดับต่ำกว่าปกติเล็กน้อย ขณะที่มีกลวิธีเผชิญปัญหาและสุขภาพจิตอยู่ในระดับปกติ ความยืดหยุ่นทนทาน กลวิธีเผชิญปัญหา และการศึกษา สามารถทำนายความแปรปรวนในคะแนนสุขภาพจิตร้อยละ 24 ที่ระดับนัยสำคัญ .05 โดยมีสมการการทำนาย ดังนี้ สุขภาพจิต = 41.57 + .43*ความยืดหยุ่นทนทาน + 1.23*กลวิธีเผชิญปัญหา + 2.41*การศึกษา

Article Details

Section
บทความวิจัย (Research Article)

References

กรมสุขภาพจิต. (2552). 5 เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับ RQ. กรุงเทพฯ: สำนักพัฒนาสุขภาพจิต กรมสุขภาพจิต.

กุนนที นวลสุวรรณ, อายุพร ประสิทธิเวชชากูร, และ องค์อร ประจันเขตต์. (2555). ความเครียด และวิธีการเผชิญความเครียดของพลทหารใหม่. วารสารพยาบาลทหารบก, 13(2), 72-81.

นิลุไลดา นิโซะ, สุคนธา ศิริม, ดุสิต สุจิรารัตน์, สุรินธร กลัมพากร, และ นพพร ตันติรังสี. (2558). อาการเครียดเฉียบพลันภายหลังเหตุการณ์สะเทือนขวัญ (PTSD) ในบุคลากรสาธารณสุขที่ปฏิบัติงานในพื้นที่ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ (รายงานการวิจัย). กรุงเทพฯ: ภาควิชาระบาดวิทยา คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล.

พจนา เปลี่ยนเกิด. (2552). ปัจจัยทำนายความเครียดของทหารที่ปฏิบัติงานในอำเภอศรีสาคร จังหวัดนราธิวาส (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, เชียงใหม่.

พัชรินทร์ อรุณเรือง. (2545). ผลของการปรึกษาเชิงจิตวิทยาแบบกลุ่มต่อความสามารถในการฟื้นพลัง และกลวิธีการเผชิญปัญหาของวัยรุ่นตอนต้น (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ.

เพ็ญประภา ปริญญาพล. (2546). ความสัมพันธ์ระหว่างความยืดหยุ่นและทนทาน การรับรู้เหตุการณ์ลบในชีวิต กลวิธีการเผชิญปัญหากับสุขภาพจิตของนักศึกษามหาวิทยาลัย (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, เชียงใหม่.

__________. (2550). ความยืดหยุ่นและทนทานของนักศึกษามหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี. วารสารสงขลานครินทร์ ฉบับสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์, 13(2), 137-153.

วิชาญ ชูรัตน์, โยธิน แสวงดี, และ สุพาพร อรุณรักษ์สมบัติ. (2555). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อภาวะเสี่ยงการมีปัญหาสุขภาพจิตของผู้สูงอายุไทย. วารสารประชากร, 3(2), 87-109.

วารีรัตน์ ถาน้อย, อทิตยา พรชัยเกตุ, โอว ยอง,  และ ภาศิษฏา อ่อนดี. (2555). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อภาวะสุขภาพจิตของนักศึกษา คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล. วารสารสภาการพยาบาล, 27(ฉบับพิเศษ), 60-76.

วัชราภรณ์ เปาโรหิต. (2557). การศึกษาความวิตกกังวลของครอบครัวต่อกำลังพลที่ปฏิบัติภารกิจ ณ กองกำลังเฉพาะกิจทางอากาศ 9 สนามบินบ่อทอง จังหวัดปัตตานี. วารสารพยาบาลตำรวจ, 6(2), 109-120.

ศิริเพิ่ม เชาวน์ศิลป์. (2546). การวิเคราะห์องค์ประกอบของแบบทดสอบบุคลิกภาพการปรับตัวเพื่อความเป็นเลิศ (รายงานการวิจัย). เชียงใหม่: มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

ศรีสมภพ จิตร์ภิรมย์ศรี. (2560). ความขัดแย้งชายแดนใต้ในรอบ 3 ปี: ความซับซ้อนของสนามความรุนแรงและ พลังของบทสนทนาสันติภาพปาตานี. จาก https://deepsouthwatch.org/th/node/11053

สุภาวดี ไชยเดชาธร, ทัศนีย์ ทิพย์สูงเนิน, และ กชกร แก้วพรหม. (2558). สุขภาพจิตของผู้สูงอายุที่เข้าร่วมกิจกรรมเสริมสร้างแกนนำชมรมผู้สูงอายุจังหวัดนครราชสีมา. วารสารวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนีนครราชสีมา, 21(1), 31-40.

สำนักข่าวอิสรา. (2554). สธ.จับตาวิกฤติ “โรคเครียด-เสี่ยงฆ่าตัวตายที่ชายแดนใต้. จาก https://www.isranews.org/content-page/67-south-slide/3474

ไหมไทย ไชยพันธุ์ และ ณัฐสุดา เต้พันธ์. (2555). ความสัมพันธ์ระหว่างความรู้สึกสอดคล้องกลมกลืนในชีวิตกับความเครียดในการปฏิบัติงานของทหารในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ โดยมีกลวิธีการเผชิญปัญหา เป็นตัวแปรส่งผ่าน. วารสารมหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์, 4(2), 40-58.

อภิชัย มงคล, ทวี ตั้งเสรี, พิเชฐ อุดมรัตน์, วัชนี หัตถพนม, ภัสรา เชษฐ์โชติศักดิ์, วรวรรณ จุฑา, และ ระพีพร แก้วคอนไทย. (2546). การพัฒนาและทดสอบดัชนีชี้วัดสุขภาพจิตคนไทยฉบับใหม่. นนทบุรี: กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข.

อิสรา รักษ์กุล. (2554). ภาวะสุขภาพจิตและทัศนคติของกำลังพลกองทัพบกที่ปฏิบัติภารกิจในพื้นที่ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้. เวชสารแพทย์ทหารบก, 64(2), 67-73.

Abiola, T., & Udofia, O. (2011). Psychometric assessment of the wagnild and young’s resilience scale in Kano, Nigeria. BMC Research Notes, 4(1), 509. doi: 10.1186/1756-0500-4-509

Abolghasemi, A., & Varaniyab, S. T. (2010). Resilience and perceived stress: Predictors of life satisfaction in the students of success and failure. Procedia-Social and Behavioral Sciences, 5, 748–752.

American Psychological Association. (2011). The impact of stress. Retrieved from https://www.apa.org/news/press/releases/stress/2011/impact.aspx

Amirkhan, J. H. (1990). A factor-analyticaIly derived measure of coping: The coping strategies indicator. Journal of Personality and Social Psychology, 59(5), 1066-1074.

Beutel, M. E., Glaesmer, H., Wiltink, J., Marian, H., & Brahler, E. (2010). Life satisfaction, anxiety, depression and resilience across the life span of men. The Aging Male, 13(1), 32-39.

Burns, R. A., & Anstey, K. J. (2010). The Connor–Davidson Resilience Scale (CD-RISC): Testing the invariance of a unidimensional resilience measure that is independent of positive and negative affect. Personality and Individual Differences, 48(5), 527-531.

Connor, K. M., & Davidson, J. R. T. (2003). Development of a new resilience scale: The Connor-Davidson Resilience Scale (CDRISC). Depression and Anxiety, 18(2), 76-82.

Davydov, D. M., Stewart, R., Ritchie, K., & Chaudieu, I. (2010). Resilience and mental health. Clinical Psychology Review, 30(5), 479-495.

Fredrickson, B. L., Tugade, M. M., Waugh, C. E., & Larkin, G. R. (2003). What good are positive emotions in crisis? A prospective study of resilience and emotions following the terrorist attacks on the United States on September 11th, 2001. Journal of Personality & Social Psychology, 84(2), 365–376.

Goldberg, H. E. (1995). A guide to promote resilience in children: Strengthening the human spirit. Netherlands: Bernard Van Lee Foundation.

Gupta, R., Sood, S., & Bakhsh, A. (2012). Relationship between resilience, personality and burnout in police personnel. International Journal of Management Sciences, 1(4), 1-5.

Hair, J., Black, W., Babin, B., Anderson, R., & Tatham, R. (2006). Multivariate data analysis (6th ed.). Uppersaddle River, NJ.: Pearson Prentice Hall.

Halpern-Manners, A., Schnabel, L., Hernandez, E. M., Silberg, J. L., & Eaves, L. J. (2016). The relationship between education and mental health: New evidence from a discordant twin study. Social Forces, 95(1), 107-131.

Hasui, C., Igarashi, H., Shikai, N., Shono, M., Nagata, T., & Kitamura, T. (2009). The resilience scale: A Duplication study in Japan. The Open Family Studies Journal, 2, 15-22.

Karairmak, O. (2010). Establishing the psychometric qualities of the Connor-Davidson Resilience Scale (CD-RISC) using exploratory and confirmatory factor analysis in a trauma survivor sample. Psychiatry Research, 179(3), 350-356.

Lin, C. -C. (2015). The impact of gratitude on resource development and emotional wellbeing. Social Behavior and Personality: An International Journal, 43(3), 493–504.

__________. (2016). The role of social support and coping style in the relationship between gratitude and well-being. Personality and Individual Differences, 89, 13-18.

Loukzadeh, Z., & Bafrooi, N. M. (2013). Association of coping style and psychological well-being in hospital nurses. Journal of Caring Science, 2(4), 313-319.

Marini, C. M., Wadsworth, S. M., Christ, L. S., & Franks, M. M. (2017). Emotion expression, avoidance and psychological health during reintegration: A dyadic analysis of actor and partner associations within a sample of military couples. Journal of Social and Personal Relationships , 34(1), 69-90.

McKinney, K. G. (2006). Initial evaluation of active minds: The stigma of mental illness and willingness of college students to seek professional help. Thesis. Colorado State University. Retrieved from https://sites.google.com/site/mckinneykathy6/combinedstigmathesi.pdf

Newman, P. (2010). Resilient cities and application to Singapore. Environment and Urbanization Asia, 1(1), 149-170.

Newman, R. (2005). APA’s resilience initiative. Professional Psychology: Research and Practice, 36(3), 227-229.

Ong, A. D., Zautra, A. J., & Reid, M. C. (2010). Psychological resilience predicts decreases in pain catastrophizing through positive emotion. Psychology and Aging, 25(3), 516-523.

Rossi, N. E., Bisconti, T. L., & Bergeman, C. S. (2007). The role of dispositional resilience in regaining life satisfaction after the loss of a spouse. Death Studies, 31(10), 863-883.

Satici, S. A. (2016). Psychological vulnerability, resilience, and subjective well-being: The mediating role of hope. Personality and Individual Differences, 102, 68-73.

Schwazer, R. (1992). Self-efficacy in the adoption and maintenance of health behaviors: Theoretical approaches and a new model. In R. Schwazer (Ed.), Self-efficacy: Thought control action (pp.217-263). Washington: Hemisphere Pub. Corp.

Smith, G. D., & Yang, F. (2017). Stress, resilience and psychological well-being in Chinese undergraduate nursing students. Nurse Education Today, 49, 90-95.

Souri, H., & Hasanirad, T. (2011). Relationship between resilience, optimism and psychological wellbeing in students of medicine. Social and Behavioral Sciences, 30, 1541-1544.

Stallman, H. M., & Wilson, C. (2017). Could explicit teaching of coping planning in suicide prevention curricula improve resilience in medical students?. Medical Teacher, 39(7), 680.

Tao, T., Yuhuai, C., Jing, Z., & Pengling, L. (2015). Effect of air pollution and rural-urban difference on mental health of the elderly in China. Iran Journal Public Health, 44(8), 1084-1094.

Tugade, M. M., & Fredrickson, B. L. (2004). Resilient individuals use positive emotion to bounce back from negative emotional experience. Journal Personality & Social Psychology, 86(2), 320-333.

Vinas, F., Casas, F., Abreu, D. P., Alcantara, S. C., & Montserrat, C. (2017). Social disadvantage, subjective well-being and coping strategies in childhood: The case of northern Brazil. Children and Youth Services Review, 97, 14-21.

Wagnild, G. M., & Young, H. M. (1993). Development and psychometric evaluation of the resilience scale. Journal of Nursing Measurement, 1(2), 165-178.

World Health Organization. (2005). Promoting mental health: Concepts, emerging evidence, practice: A report of the World Health Organization. Department of Mental Health and Substance Abuse in collaboration with the Victorian Health Promotion Foundation and the University of Melbourne. Geneva: World Health Organization.

Xing, C., & Sun, J. M. (2013). The role of psychological resilience and positive affect in risky decision-making. International Journal of Psychology, 48, 935-943.

Ying, L., Wu, X., Lin, C., & Jiang, L. (2014). Trauma severity and trait resilience as predictors of posttraumatic stress disorder and depressive symptoms among adolescent survivors of the Wenchuan earthquake. PLoS One, 9(2), e89401.