การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน ภาวะผู้นำการปรับเปลี่ยนของหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ ในโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน

Main Article Content

นวรัตน์วดี ชินอัครวัฒน์
สุวัฒน์ จุลสุวรรณ์

Abstract

The purposes of this research were 1) to study factors of adaptive leadership skills for the heads of learning strands of high schools under the Office of the Basic Education Commission of Thailand and 2) to analyze the confirmatory factor of adaptive leadership skills of the heads. The sample of this research consisted of 264 heads of learning strands selected by a stratified random sampling prior to simple random sampling and lottery method. The research instruments were questionnaires. The data were analyzed by descriptive statistics and confirmatory factor analysis through AMOS. The results were as followed:  The results were as followed:   1. The adaptive leadership skills consisted of four factors and 13 observed variables: 1) Cultural Competency (3 observed variables); 2) Creating Synergy (3 observed variables); 3) Holistic Vision (3 observed variables) and 4) Knowledge Management (4 observed variables). 2. The structural model of the confirmatory factor analysis of adaptive leadership was consistent with empirical data Chi-Square = 70.976, df = 56, p-value = .086, CMIN/DF = 1.267, RMR = .018, GFI = .961, AGFI = .937, IFI = .961, TLI = .943, CFI = .959, RMSEA = .032


บทคัดย่อ


การวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมาย 1) เพื่อศึกษาองค์ประกอบภาวะผู้นำการปรับเปลี่ยนของหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ในโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ 2) เพื่อวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันภาวะผู้นำการปรับเปลี่ยนของหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ในโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กลุ่มตัวอย่างในการวิจัย ได้แก่ หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ในโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน จำนวน 264 คน เลือกกลุ่มตัวอย่างโดยใช้วิธีการสุ่มแบบชั้นภูมิ หลังจากนั้นจึงใช้วิธีการสุ่มอย่างง่ายโดยการจับฉลาก เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถาม การวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรม SPSS สำหรับการวิเคราะห์ค่าสถิติพื้นฐาน และใช้โปรแกรม AMOS สำหรับการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน ผลการวิจัยพบว่า  1. องค์ประกอบภาวะผู้นำการปรับเปลี่ยน มีจำนวน 4 องค์ประกอบ 13 ตัวแปรสังเกตได้ ได้แก่ 1) องค์ประกอบสมรรถนะทางวัฒนธรรม ประกอบด้วย 3 ตัวแปรสังเกตได้ 2) องค์ประกอบการสร้างความกลมเกลียว ประกอบด้วย 3 ตัวแปรสังเกตได้ 3) องค์ประกอบวิสัยทัศน์แบบองค์รวม ประกอบด้วย 3 ตัวแปรสังเกตได้ และ 4) องค์ประกอบการจัดการความรู้ ประกอบด้วย 4 ตัวแปรสังเกตได้ 2. โมเดลการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันภาวะผู้นำการปรับเปลี่ยน มีความสอดคล้องกลมกลืนกับข้อมูลเชิงประจักษ์ มีค่า Chi-Square = 70.976, df = 56, p-value = .086, CMIN/DF = 1.267, RMR = .018, GFI = .961, AGFI = .937, IFI = .961, TLI = .943, CFI = .959, RMSEA = .032

Article Details

Section
บทความวิจัย (Research Article)

References

กระทรวงศึกษาธิการ. (2552). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.

กาญจนา ธานะ. (2551). ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล ความฉลาดทางอารมณ์ สภาพแวดล้อมในการทำงาน และภาวะผู้นำการปรับเปลี่ยนของหัวหน้าหอผู้ป่วย โรงพยาบาลเอกชน เขตกรุงเทพมหานคร (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ.

บุญเรือง อูปเฮียง. (2550). ภาวะผู้นำของหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ตามทรรศนะของครูโรงเรียนสามัคคีวิทยาคม สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาเชียงราย เขต 1 (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย, เชียงราย.

ประยูร เจริญสุข. (2553). การพัฒนาตัวบ่งชี้งานวิชาการของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน. วารสารการบริการการศึกษา มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 6(2), 58-67.

ปาริชาติ วัคคุวัทพงษ์. (2558). รูปแบบการพัฒนาพฤติกรรมภาวะผู้นำทางวิชาการของหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ โรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 31 (วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต). มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา, นครราชสีมา.

พิมผกา ธรรมสิทธิ์. (2552). การพัฒนาตัวบ่งชี้ของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง: การทดสอบโมเดลความสัมพันธ์โครงสร้างเชิงเส้น. วารสารการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 5(2), 68-73.

มะลิวรรณ ประวัง. (2551). การพัฒนาภาวะผู้นำของหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2544 (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยนเรศวร, พิษณุโลก.

วรเดช จันทรศร. (2551). จากนโยบายสู่การปฏิบัติ: องค์ความรู้ ตัวแบบทางทฤษฎี และการประเมินความสำเร็จ ความล้มเหลว. กรุงเทพฯ: พริกหวาน กราฟฟิก.

วีระวัฒน์ ดวงใจ. (2557). รูปแบบการพัฒนาภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ในโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 22 และ 23 (วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต). มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร, สกลนคร.

ศิริพันธ์ ศิริพันธ์, ดาริน โต๊ะกานิ, และ มุสลินท์ โต๊ะกานิ. (2552). สมรรถนะทางวัฒนธรรมของนักศึกษาพยาบาลในพื้นที่ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้. วารสารมหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์, 1(1), 22-26.

สันติ ชัยชนะ. (2557). ตัวบ่งชี้ภาวะผู้นำการปรับเปลี่ยนสำหรับผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน (วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต). มหาวิทยาลัยขอนแก่น, ขอนแก่น.

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2553). คู่มือการนิเทศเพื่อการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.

__________. (2559). คู่มือการปฏิบัติงานข้าราชการครู. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.

__________. (2561). ระบบสารสนเทศเพื่อบริหารการศึกษา. จาก: http://data.bopp-obec.info/emis/area_school.php

สุวรรณา วงศ์เมืองแก่น. (2548). การวิเคราะห์ตัวประกอบภาวะผู้นำการปรับเปลี่ยนของผู้บริหารการพยาบาล โรงพยาบาลมหาวิทยาลัย (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ.

Arbuckle, J. L. (1995). AMOS user’s guide. Chicago: SmallWaters Corporation.

Bradberry, T., & Greaves, J. (2012). Leadership 2.0: Learn the secrets of adaptive leadership. San Diego, CA: Talent Smart.

Byrne, B. M. (2001). Structural equation modeling with AMOS: Basic concepts, applications, and programming. Mahwah, NJ: Lawrence Erlbaum Associates.

Cheng, Y., Leon-Garcia, A., & Foster, I. (2008). Toward an autonomic service management framework: A holistic vision of SOA, AON, and autonomic computing. IEEE Communications Magazine, 46(5), 138-146.

Cojocar, B. (2009). Adaptive leadership: Leadership theory or theoretical derivative?. Journal of Academic Leadership, 7(1), 1-7.

Costello, A. B., & Osborne, J. W. (2005). Best practices in exploratory factor analysis: Four recommendations for getting the most from your analysis. Practical Assessment Research & Evaluation, 10(7), 1-9.

Daly, A. J., & Chrispeels, J. (2008). A question of trust: Predictive conditions for adaptive and technical leadership in educational contexts. Journal of Leadership and Policy in Schools, 7(1), 30–63.

Glover, J., Rainwater, K., Jone, G., & Friedman, H. (2002). Adaptive leadership: Four principles for being adaptive (Part 2). Organization Development Journal, 20(4), 18-38.

Hair, J. F., Jr., Black, W. C., Babin, B. J., & Anderson, R. E. (2010). Multivariate data analysis (7th ed.). Upper saddle river, New Jersey: Pearson Prentice Hall.

Hogan, T. J. (2008). The adaptive leadership maturity model. Organization Development Journal, 26(1), 55-61.

Hu, L. T., & Bentler, P. M. (1999). Cutoff criteria for fit indexes in covariance structure analysis: Conventional criteria versus new alternatives. Structural Equation Modeling, 6(1), 1-55.

Khan, O. (2009). The challenge of adaptive leadership. Leader to Leader, 25(38), 52-58.

Kline, R. B. (1998). Principles and practice of structural equation modeling. New York: Guilford Press.

Schumacker, R. E., & Lomax, R. G. (2010). A beginner’s guide to structural equation modeling (3rd ed.). New York: Routledge/Taylor & Francis Group.

Steiger, J. H. (1990). Structural model evaluation and modification: An interval estimation approach. Multivariate Behavioral Research, 25(2), 173-180.

Suzette, L. (2005). Creating synergy in the schoolhouse: Changing dynamics among peer cohorts will drive the work of school systems. School Administrator, 62(8), 30-34.

Thomas, R. J. (2008). Crucibles of leadership: How to learn from experience to become a great leader. Boston: Harvard Business Press.

Yukl, G. A. (2002). Leadership in organizations (5th ed.). Upper Saddle River, New Jersey: Prentice Hall.

Yukl, G., & Mahsud, R. (2010). Why flexible and adaptive leadership is essential. Consulting Psychology Journal: Practice and Research, 62(2), 81-93.