โรงทหารหน้า : ปรากฏกำรณ์ทางสถาปัตยกรรมในประเทศไทย
DOI:
https://doi.org/10.14456/bei.2020.15คำสำคัญ:
โรงทหารหน้า, ปรากฏการณ์, สถาปัตยกรรมบทคัดย่อ
การศึกษา โรงทหารหน้า : ปรากฏกำรณ์ทางสถาปัตยกรรมในประเทศไทย เป็นกำรศึกษาค้นคว้าถึงปัจจัยที่มีผลกระทบต่อแนวความคิดในกำรออกแบบสถาปัตยกรรมโรงทหารหน้า มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความเป็นมาและทราบถึงอิทธิพลทางสถาปัตยกรรมที่มีผลต่อแนวความคิดในกำรออกแบบโรงทหารในประเทศไทย ตั้งแต่ยุคแรกเริ่มปฏิรูปกองทัพในยุคสมัยใหม่ โดยกำรศึกษาคุณลักษณะทางกำยภาพ ศึกษาทฤษฎี และคุณลักษณะทางสถาปัตยกรรมที่สำคัญ ตลอดจนแนวความคิดกำรออกแบบสถาปัตยกรรมโรงทหารในประเทศไทย 2 ประกำร คือ 1) แนวความคิดในกำรออกแบบสถาปัตยกรรมโรงทหารในประเทศไทยเป็นอย่างไร และ 2) ปัจจัยใดบ้างที่มีผลต่อแนวความคิดในกำรออกแบบสถาปัตยกรรมโรงทหารกำรศึกษาพบว่า ตั้งแต่ยุคแรกเริ่มปฏิรูปกองทัพในยุคสมัยใหม่ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว กำรออกแบบก่อสร้างโรงทหารหน้าซึ่งถือได้ว่าเป็นโรงทหารหลังแรกของสยาม มีลักษณะทางสถาปัตยกรรมเน้นความเรียบง่าย สวยงาม สูงศักดิ์ แสดงถึงความเจริญและอำนาจทางทหารและเป็นสัญลักษณ์ของกำรทหารในยุคสมัยใหม่ ถือว่าเป็นปรากฏกำรณ์ทางสถาปัตยกรรมที่ถือกำเนิดขึ้นเป็นครั้งแรกในสยาม โดยได้รับอิทธิพลและแนวความคิดกำรออกแบบทางสถาปัตยกรรมจากต่างประเทศ คือ สถาปัตยกรรมแบบนีโอคลาสสิค (Neoclassicism) รูปแบบสถาปัตยกรรมพาลลาเดียน (Palladianism) ตำมตำรา Four Books of Architecture ของ อังเดร พาลลาดิโอ (Andrea Palladio) ซึ่งเป็นเป็นสถาปัตยกรรมกระแสหลักที่ชาติมหาอำนาจทางทหาร ใช้ในงานออกแบบก่อสร้างสถาปัตยกรรมทางทหาร นอกจากนี้รูปแบบทางสถาปัตยกรรมโรงทหารหน้ายังมีอิทธิพลต่อสถาปัตยกรรมภายในเกาะรัตนโกสินทร์ที่ตั้งอยู่โดยรอบโรงทหารหน้า และมียังอิทธิพลต่อกำรออกแบบโรงทหารในส่วนภูมิภาคในยุคสมัยต่อมา
References
ชัยพฤกษ์ พูนสวัสดิ์ และคณะ. (2556). ที่ว่ากำรกระทรวงกลาโหม รวมสรรสำระน่ารู้ของศาลาว่ากำรกลาโหม,211. กรุงเทพฯ: สำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม.
ผุสดี ทิพทัส. (2541). ช่างฝรั่งในกรุงสยาม. หนังสือชุดคลื่นความคิด. โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
พัฒนปกรณ์ ลีลาพฤทธิ์, ต้นข้าว ปาณินท์. (2561). ความสมดุลของเปลือกอำคำร:กำรปรับตัวของวิถีชีวิตในตึกแถวเก่า. Veridian E-Journal, Silpakorn University ฉบับภาษาไทย สำขามนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ และศิลปะ ปีที่ 11 ฉบับที่ 3 เดือนกันยายน - ธันวาคม 2561. 973-987.
พิริยา พิทยาวัฒนชัย. (2554). สถาปัตยกรรมของโยอำคิม กราซีในสยาม. วิทยานิพนธ์หลักสูตรปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สำขาวิชาประวัติศาสตร์สถาปัตยกรรม บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร.
ต้นข้าว ปาณินท์. (2553). คนและความคิดทางสถาปัตยกรรม. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ สมมติ.
รักพงษ์ แซ่โซว. (2546). ปัจจัยที่ช่วยให้ญี่ปุ่นไม่ตกเป็นอำณานิคมของชาติตะวันตกในช่วงศตวรรษที่ 19. วิทยานิพนธ์หลักสูตรศิลปศาสตร์มหาบัณฑิต สำขาวิชาญี่ปุ่นศึกษา คณะศิลปะศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
วัชรินทร์ แก่นทอง. (2560). กำรปฏิบัติกำรข่าวสำรภัยคุกคำมที่มีผลกระทบต่อความมั่นคงปลอดภัยของกองทัพไทย.เอกสำรวิจัยส่วนบุคคล. กรุงเทพฯ: วิทยาลัยกำรทัพบก.
สมชาติ จึงสิริอำรักษ์. (2553). สถาปัตยกรรมแบบตะวันตกในสยาม สมัยรัชกำลที่ 4 – พ.ศ.2480. กรุงเทพฯ: คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร.
สุรศักดิ์ พันธเศรษฐ และคณะ. (2552 ). พจนานุกรมศัพท์และคำย่อด้านความมั่นคง ฉบับอังกฤษ-ไทย พ.ศ.2552(ฉบับปรับปรุง พิมพ์ครั้งที่ 2) กรุงเทพฯ: สถาบันวิชากำรทหารบกชั้นสูง.
Antoine Crysostome Quatermrtr de Quincy. (1987). An Essay on the Nature, the End, and the Means of Imitation in the Fine Arts. Translated by J.C.Kent. Londin: 1837 and Anthony Vidler. The Writing of the Walls: Architecture in the Late Enlightenment. Princeton Architectural Press.
Black, Jeremy. (1991). A Military Revolution? Military Change and European Society 1550-1800.London:
Giulio Carlo Argan. (1963). On Typology of Architecture, Architectural Design. Munich: C.H.Back.
Lawence J. Vale. (2008). Architecture, Power, and National Identity. Cromwell Press Ltd, Trowbridge, Wiltshire, Great Britain: p. 52.
Pevsner, N. (1982). An Outline of European Architecture, Frome and London: Butler&Trainer, p.17.
Mohsen Dehbozorgi. (2016). Recognition of the Elements of Power in Ancient Architecture. Department of Architecture, Islamic Azad University, Marvdasht, Iran.Urban and Regional Planning, Volume 1, Issue 4, November 2016, Retrieved from http://article.sciencepublishinggroup.com
Nicholaus Pevsner. (1976). A History of Building Type. Princeton: Princeton University Press. Robert J. Bunker. The Waves of Warfare, The Tofflerian Paradox. Military Review. May-June 1995 Vitruvius, Pollio (transl. Morris Hicky Morgan, 1960), The Ten Books on Architecture. Courier Dover Publications, pp. 319-319.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
ทัศนะและข้อคิดเห็นของบทความที่ปรากฏในวารสารฉบับนี้เป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน ไม่ถือว่าเป็นทัศนะและความรับผิดชอบของกองบรรณาธิการ