การจัดการสภาพแวดล้อมทางกายภาพ เพื่อส่งเสริมประสิทธิภาพการเข้าถึงพื้นที่ให้บริการส่วนกลางของโรงพยาบาลสำหรับทุกคน กรณีศึกษา มหาวิทยาลัยนเรศวร

ผู้แต่ง

  • จรัญญา พหลเทพ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ศิลปะและการออกแบบ มหาวิทยาลัยนเรศวร
  • ธีรวุฒิ บุญยศักดิ์เสรี คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ศิลปะและการออกแบบ มหาวิทยาลัยนเรศวร
  • อาทิตย์ เหล่าเรืองธนา คณะแพทย์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร
  • ปวีณา พหลเทพ คณะแพทย์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร

DOI:

https://doi.org/10.14456/bei.2022.7

คำสำคัญ:

การจัดการสภาพแวดล้อมทางกายภาพ, ประสิทธิภาพการบริการ, การเข้าถึงสำหรับทุกคน, โรงพยาบาล

บทคัดย่อ

บทบาทของโรงพยาบาลปัจจุบันจำเป็นต้องให้ความสำคัญในเรื่อง การเข้าถึงได้ง่ายกับคนทั้งมวล ซึ่งเป็นสิทธิพื้นฐาน งานวิจัยนี้สำรวจเบื้องต้นพบปัญหา ความหนาแน่นของผู้มาใช้บริการในสถานพยาบาล การขาดองค์ประกอบด้านการออกแบบ สิ่งอำนวยความสะดวกที่เหมาะสม อันส่งผลต่อความสะดวกในการเข้าถึงของทั้งผู้ใช้บริการทั่วไป คนพิการ และผู้มีข้อจำกัดทางร่างกายที่หลากหลาย เช่น ผู้สูงอายุ กลุ่มผู้ป่วยโรคกระดูก หัวใจ คนท้อง เป้นต้น วัตถุประสงค์ของงานวิจัยนี้ เพื่อศึกษาและจัดการสภาพแวดล้อมทางกายภาพ ส่งเสริมประสิทธิภาพการเข้าถึงพื้นที่ให้บริการส่วนกลางของโรงพยาบาล มหาวิทยาลัยนเรศวรเป็นกรณีศึกษา การวิจัยนี้ใช้การศึกษาบนพื้นฐานของข้อมูลเชิงประจักษ์ และตรวจสอบประสิทธิภาพของสภาพแวดล้อมทางกายภาพด้วยกระบวนการประเมินประสิทธิภาพอาคารหลังการเข้าใช้แบบผสมผสาน และการเสนอแนะแนวทางการจัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสิ่งอำนวยความสะดวกในโรงพยาบาลที่เหมาะสมสำหรับคนทุกคน ซึ่งจะนำไปสู่การสร้างประโยชน์ด้านการบริการที่เข้าถึงได้อย่างเท่าเทียม สะดวก และปลอดภัย สำหรับคนทุกคน

References

จันทนี เพชรานนท์. (2542). การทำรายละเอียดประกอบการออกแบบสถาปัตยกรรมภายใน. (น.12-13).

กรุงเทพมหานคร: คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์, สถาบันเทคโนโลยีพระจองเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง

นพดล สหชัยเสรี. (2551). เอกสารประกอบการสอนวิชา การออกแบบเพื่อมวลชน (Universal Design)

สาขาสหวิทยาการการวิจัยเพื่อการออกแบบ บัณฑิตศึกษา. สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหาร

ลาดกระบัง.

Imrie, R. (2015). Socializing design and equitable living: Towards an assessment of the relevance

of universal design. Lecture given on 20 October 2015 at College of Art, Griffith

University, Queensland Australia

Imrie R. and Hall P. (2001). Inclusive Design Designing and Developing Accessible Environments.

pp. 9-36. Spon Press and Francis Group.

Kroll, K. (2005). Evidence- based design in Healthcare Facilities. Retrieved from http://shura.shu.

ac.uk/id/eprint/492 September 8, 2020.

Longo, E. (2012). Le relazionigiuridiche nel sistema dei diritti sociali. Profiliteorici

eprassicostituzionali. Retrieved from http://works.bepress.com/erik_longo/1/

Mac Minner, S. (2002). Wayfinding: human perceptions & orientation; in the Built Environment

Murphy, P. (2012, February). Wayfinding Planning for Healthcare Facilities. GNU group. Retrieved

from http://www.gnugroup.com/thought-leadership/healthcarewayfinding/ November 14,

PASSINI, R, and PROULX, G. (1988). Wayfinding withoutvision An Experiment withcongenitally

totally blind people. ENVIRONMENTAND BEHAVIOR, Vol.20 No.2,March 1988 227-252 @

SagePublications, Inc.

Phaholthep, C., Sawadsri, A., and Skates, H. (2016). AComprehensive POE Process forInvestigating

Service Efficiency based on Universal Design Principles: a case study of public zones

inNaresuan University Hospital. 50th International Conference of the ArchitecturalScience

Association 2016, pp.517-526. TheArchitectural Science Association and The Universityof

Adelaide, Australia

Preiser, W. F. E., & Ostroff, E. (Eds.) (2001). Universal design handbook. McGraw-Hill, New York, NY,

USA

Preiser, W. F. E. (n. d.). Design and Health. International Academy for Design and Health.

Retrieved from http://www.designandhealth.com/upl/files/122195

The UK Goverment’s website. Department of health. Health Building Note 00-01: General design

guidance for healthcare buildings. pp. 27-46, Note 00-03 – Clinical and clinical support

spaces, pp.66-68, Note 00-04 – Circulation and communication spaces

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2022-03-23

How to Cite

พหลเทพ จ., บุญยศักดิ์เสรี ธ., เหล่าเรืองธนา อ., & พหลเทพ ป. (2022). การจัดการสภาพแวดล้อมทางกายภาพ เพื่อส่งเสริมประสิทธิภาพการเข้าถึงพื้นที่ให้บริการส่วนกลางของโรงพยาบาลสำหรับทุกคน กรณีศึกษา มหาวิทยาลัยนเรศวร. สิ่งแวดล้อมสรรค์สร้างวินิจฉัย, 21(1), 103–118. https://doi.org/10.14456/bei.2022.7