การพัฒนาบล็อกปูพื้นทางเดินเท้าคอนกรีตพรุนจากหินกรวดและกะลาปาล์มน้ำมัน
DOI:
https://doi.org/10.14456/bei.2022.5คำสำคัญ:
กะลาปาล์ม, หินกรวด, คอนกรีตพรุน, บล็อกปูพื้นทางเดินเท้า, วัสดุสีเขียวบทคัดย่อ
งานวิจัยนี้มุ่งเน้นการพัฒนาบล็อกคอนกรีตพรุนที่น้ำซึมผ่านได้สำหรับปูพื้นทางเดินเท้า เพื่อแก้ปัญหาน้ำท่วมขังและเพิ่มความชุ่มชื้นให้กับพื้นที่ บล็อกคอนกรีตพรุนที่มีส่วนผสมของซีเมนต์ น้ำ หินกรวด และกะลาปาล์มน้ำมัน ถูกผลิตในอัตราส่วนต่าง ๆ และนำไปทดสอบคุณสมบัติด้านกำลังต้านทานแรงอัดของคอนกรีต อัตราการซึมผ่านของน้ำ การนำความร้อน การดูดซึมน้ำ ปริมาณความชื้น และความหนาแน่น ผลการทดสอบพบว่าบล็อกคอนกรีตพรุนมีค่ากำลังต้านทานแรงอัด อัตราการซึมผ่านของน้ำ และความหนาแน่น ตามมาตรฐาน ACI522R-10 โดยค่าการนำความร้อนและความหนาแน่นจะเพิ่มขึ้นเมื่ออัตราส่วนของกะลาปาล์มลดลง ในขณะที่ค่าการดูดซึมน้ำและความชื้นจะเพิ่มขึ้นเมื่ออัตราส่วนของกะลาปาล์มเพิ่มขึ้น บล็อกคอนกรีตพรุนนับเป็นวัสดุสีเขียวที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ซึ่งมีศักยภาพในการพัฒนาเป็นวัสดุปูพื้นทางเดินเท้าเพื่อเพิ่มพื้นที่ผิวซึมน้ำและลดปัญหาน้ำท่วม ตลอดจนช่วยลดการสะสมความร้อนของวัสดุและช่วยลดอุณหภูมิของสภาพแวดล้อมลงได้
References
Bureau of Energy Human Resource Development. (2010). Energy responsible person (building) manual B.E. 2553. Bangkok: Bureau of Energy Human Resource Development.
สำนักพัฒนาทรัพยากรบุคคลด้านพลังงาน. (2553). คู่มือผู้รับผิดชอบด้านพลังงาน (อาคาร) พ.ศ. 2553. กรุงเทพฯ: สำนักพัฒนาทรัพยากรบุคคลด้านพลังงาน.
Chareerat, T. et al. (2017). Physical model of porous concrete in green building according to TREES-NC. Thai Environmental Engineering Journal, 31(2), 37-44.
ถนัดกิจ ชารีรัตน์ และคณะ. (2560). แบบจำลองทางกายภาพการประยุกต์ใช้คอนกรีตพรุนเพื่องานอาคารเขียวตามหลักเกณฑ์ของ TREES-NC. วารสารวิศวกรรมสิ่งแวดล้อมไทย, 31(2), 37-44.
Charoennatkul, C. (2014). Interlocking blocks containing oil palm ash and shells waste. Journal of Community Development and Life Quality, 2(1), 103-112.
จรูญ เจริญเนตรกุล. (2557). อิฐบล็อกประสานที่มีส่วนผสมเถ้าและกะลาปาล์มน้ำมัน. วารสารการพัฒนาชุมชนและคุณภาพชีวิต, 2(1), 103-112.
Chompoovong, K. et al. (2563). Properties of pervious geopolymer concrete made from high-calcium fly ash containing calcium carbide residue. The Journal of KMUTNB, 30(2), 280-290.
ขัตติย ชมพูวงศ์ และคณะ. (2563). คุณสมบติของจีโอพอลิเมอร์คอนกรีตพรุนจากเถ้าลอยแคลเซียมสูงผสมกากแคลเซียมคาร์ไบด์. วารสารวิชาการพระจอมเกล้าพระนครเหนือ, 30(2), 280-290.
Chusilp, N. (2013). Unit Weight and Compressive Strength of Pervious Concrete Mixed with Oil Palm Shell. Journal of Community Development and Life Quality, 1(1), 97-106.
นันทชัย ชูศิลป์. (2556). หน่วยน้ำหนักและกำลังรับแรงอัดของคอนกรีตพรุนผสมกะลาปาล์มน้ำมัน. วารสารการพัฒนาชุมชนและคุณภาพชีวิต, 1(1), 97-106.
Hirun, Y. et al. (2009). Porous concrete paving block. In Annual Concrete Conference 4 (pp. 13-18). Ubon Ratchathani: Thailand Concrete Association.
ยุวดี หิรัญ และคณะ. (2552). บล็อกปูถนนคอนกรีตพรุน. ใน การประชุมวิชาการคอนกรีตประจำปี ครั้งที่ 4 (น. 13-18). อุบลราชธานี: สมาคมคอนกรีตแห่งประเทศไทย.
Kesawadkorn, P., Prommas, R., & Rungsakthaweekul, T. (2015). Water permeability of concrete mixing palm oil regionalism ash and crushed dust replaced sand using microwave curing. Nakhon Pathom: Rajamangala University of Technology Rattanakosin.
ปิยะพงศ์ กี่สวัสดิ์คอน, รัฐศักดิ์ พรหมมาศ และ ทวีศักดิ์ รุ่งศักดิ์ทวีกุล. (2558). อัตราการซึมผ่านน้ำในคอนกรีตผสมเถ้าทลายปาล์มน้ำมันและหินฝุ่นแทนทรายที่บ่มด้วยคลื่นไมโครเวฟ. นครปฐม: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์.
Ministerial Regulation No.6, B.E.2527. (2003, July 5), Royal Thai Government Gazette, 123, 70a.
กฎกระทรวง ฉบับที่ 6 พ.ศ. 2527. (2549, 5 กรกฎาคม). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 123 ตอนที่ 70ก.
Sumranwanich, T., Stitmannaithum, B., & Chuosavasdi, T. (2016). Determination of mix proportion of hardened concrete containing fly ash or limestone powder. Chonburi: Burapha University.
ทวีชัย สำราญวานิช, บุญไชย สถิตมั่นในธรรม และ ธิดาพร เชื้อสวัสดิ์. (2559). การประเมินสัดส่วนผสมของคอนกรีตผสมเถ้าลอยและคอนกรีตผสมฝุ่นหินปูนในคอนกรีตที่แข็งตัวแล้ว. ชลบุรี:
คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา.
Termmathurapoj, K., Visitsak, S., & Khedari, J. (2011). The development of lightweight oil palm kernel shell block for enhancing heat gain reduction through buildings. In The 49th Kasetsart University Annual Conference: Celebrating His Majesty the King 7th Cycle Birthday and Expressing Our Humble Gratitude Towards His Royal Support for Agricultural Eonomics (pp. 96-103). Bangkok: Kasetsart University.
กิตติ เติมมธุรพจน์, โสภา วิศิษฏ์ศักดิ์ และ โจเซฟ เคดารี. (2554). การพัฒนากะลาปาล์มบล็อกน้ำหนักเบาที่มีประสิทธิภาพในการลดความร้อนเข้าสู่อาคาร. ใน การประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 49 เทิดพะเกียรติ 84 พรรษากับเศรษฐกิจการเกษตร (น. 96-103). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
Thai Green Building Institute. (2020). Thai’s rating of energy and environmental sustainability for new construction and major renovation. Bangkok: Thai Green Building Institute.
สถาบันอาคารเขียวไทย. (2563). เกณฑ์การประเมินความยั่งยืนทางพลังงานและสิ่งแวดล้อมไทย สำหรับการก่อสร้างและปรับปรุงโครงการใหม่. กรุงเทพฯ: สถาบันอาคารเขียวไทย.
The British Standard Institution. (2019). Testing hardened concrete: Part 3 compressive strength of test specimens. London: BSI Standards Limited 2019.
Thinjun, S. (2014). The development of a porous concrete block from recycled rubber crumb. (Master’ s Independent Study). Department of Building, Innovation, and Technology, Kasetsart University.
สุธิดา ถิ่นจันทร์. (2557). การพัฒนาบล็อกคอนกรีตปูพื้นชนิดน้าซึมผ่านได้ผสมผงยางรถยนต์ใช้แล้ว. (การค้นคว้าอิสระปริญญามหาบัณฑิต). สาขาวิชานวัตกรรมอาคาร, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
Treephong, K., & Thepwong, R. (2020). A study of water permeability on porous concrete using recycled coarse aggregates. In The 25th National Convention on Civil Engineering: Civil Engineering and Eastern Economic Corridor for Sustainable Development (pp. MAT13-1-MAT13-7). Chonburi: The Engineering Institute of Thailand Under H.M. The King’s Patronage.
กมล ตรีผอง และ รณกร เทพวงษ์. (2563). การศึกษาการซึมผ่านน้ำในคอนกรีตพรุนโดยใช้มวลรวมหยาบรีไซเคิล. ใน การประชุมวิชาการวิศวกรรมโยธาแห่งชาติ ครั้งที่ 25 วิศวกรรมโยธากับโครงการเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออกเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน (น. MAT13-1-MAT13-7). ชลบุรี: วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2022 สิ่งแวดล้อมสรรค์สร้างวินิจฉัย
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
ทัศนะและข้อคิดเห็นของบทความที่ปรากฏในวารสารฉบับนี้เป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน ไม่ถือว่าเป็นทัศนะและความรับผิดชอบของกองบรรณาธิการ