พฤติกรรมการเดินทางของผู้สูงอายุในเขตเมือง

ผู้แต่ง

  • กรรณิกา ศรีภูมี คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
  • มนสิชา เพชรานนท์ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

DOI:

https://doi.org/10.14456/bei.2022.18

คำสำคัญ:

พฤติกรรมการเดินทาง, การเดินทางที่เป็นมิตรกับผู้สูงอายุ, ผู้สูงอายุ

บทคัดย่อ

บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อต้องการนำเสนอถึงพฤติกรรมการเดินทางของผู้สูงอายุที่ขึ้นทะเบียนในเขต
เทศบาลนครขอนแก่น ซึ่งผู้สูงอายุกลุ่มนี้เป็นกลุ่มที่มีรายได้ปานกลางค่อนข้างน้อยถึงรายได้น้อยจำเป็นต้องอาศัย
สวัสดิการของภาครัฐทำให้มีโอกาสในการเลือกการเดินทางน้อยกว่ากลุ่มผู้สูงอายุมีที่รายได้สูงหรือกลุ่มคนอื่นๆ โดยใช้
การเก็บรวบรวมข้อมูลจากแบบสอบถามกับผู้สูงอายุจำนวน 400 คนในเขตพื้นที่เทศบาลนครขอนแก่น
ผลการศึกษาพบว่า พฤติกรรมการเดินทางหลักของผู้สูงอายุที่มีรายได้ปานกลางค่อนข้างน้อยถึงรายได้น้อย
เลือกใช้รถจักรยานยนต์และรถยนต์ในการเดินทางหลักและในทุกๆ วัตถุประสงค์ของการเดินทาง มีเป้าหมายเดินทาง
หลักเพื่อไปออกกำลังกายหรือไปตลาด/ร้านค้า/ซุปเปอร์มาเก็ตระยะทางที่ใช้ในการเดินทางเฉลี่ยแต่ละครั้งไม่เกิน
15 นาที ช่วงเวลาที่ผู้สูงอายุเลือกเดินทางมากที่สุดจะอยู่ในช่วงเวลาเช้าตั้งแต่เวลา 05.00-9.00 น. และจะเลือกใช้
ระบบขนส่งสาธารณะในกรณีที่เป็นการเดินทางที่ไม่ปกติหรือเป้าหมายอยู่ไกลจากละแวกที่พักอาศัย เช่น เดินทางไป
พบแพทย์/โรงพยาบาลหรือไปติดต่อราชการ จากการสำรวจทัศนคติและความต้องการด้านการเดินทางของผู้สูงอายุ
พบว่า ผู้สูงอายุให้ความสำคัญเกี่ยวกับแนวทางการปรับปรุงสภาพทางเดินเท้าหรือเส้นทางการเดินทางให้มีความ
ปลอดภัยมากขึ้นเป็นอันดับแรก รองลงมาคือการกำหนดระยะการติดตั้งและขนาดของป้ายบอกทาง และสัญญาณไฟ
จราจรต่างๆ ให้ผู้สูงอายุมองเห็นได้ชัดเจนและเข้าใจง่าย และการออกแบบช่องจราจรสำหรับผู้สูงอายุโดยเฉพาะ
เพื่อช่วยให้ผู้สูงอายุสามารถขับขี่ยานพาหนะได้อย่างปลอดภัย ซึ่งแนวทางการปรับปรุงเหล่านี้สามารถช่วยเพิ่มโอกาส
และความสามารถด้านการเดินทางให้กับผู้สูงอายุสามารถเข้าถึงการบริการด้านการเดินทางและการบริการด้านขนส่ง
สาธารณะ สามารถสร้างความเท่าเทียมในการเดินทางทั้งในปัจจุบันและอนาคต

References

กระทรวงคมนาคม. (2554). แผนยุทธศาสตร์ กระทรวงคมนาคม พ.ศ. 2554 - 2558 (ฉบับปรับปรุง).

กรุงเทพฯ: กระทรวงคมนาคม.

รัชพันธุ์ เชยวิตร. (2549). การศึกษาความต้องการเดินทางและพฤติกรรมการเดินทางของผู้สูงอายุในเขต

กรุงเทพมหานคร. กรุงเทพฯ: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.

ไวพจน์ กุลาชัย. (2558). ระบบขนส่งสาธารณะสำหรับผู้สูงวัย...นโยบายที่ถูกเมิน?. วารสารวิทยบริการ

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 26(3), 140-150.

สำนักงานเขตท้องถิ่นเทศบาลนครขอนแก่น. (2561). ข้อมูลประชากร. ค้นเมื่อ 6 สิงหาคม 2562, จาก http://

www.kkmuni.go.th/center/index.php/th/2019-06-05-04-42-55/2019-06-24-03-22-31/2019-

-24-03-26-49.

สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย. (2556). คิดใหม่ระบบขนส่งมวลชน: บริการสะดวกจากบ้านถึงที่ทำงาน.

สืบค้นเมื่อวันที่ 12 มิถุนายน 2560, จาก http://tdri.or.th/tdri-insight/rethinking- publictransport/

สุรพงษ์ มาลี. (2561). ภาครัฐกับการเตรียมความพร้อมเข้าสู่สังคมสูงวัย. วารสารข้าราชการ สำนักงาน ก.พ.,

(4), 6-8.

สุรเมศวร์ พิริยะวัฒน์. (2553). ทฤษฎีพฤติกรรมและการประยุกต์สำหรับการวิเคราะห์พฤติกรรมการเดิน

ทางในประเทศไทย. วิศวกรรมสาร วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย, 63(6), 59-70.

สุรีรัตน์ จำปาเงิน. (2559). แนวทางการพัฒนาสวนสาธารณะที่เหมาะสมเพื่อส่งเสริมเมืองที่เป็นมิตรต่อผู้สูงอายุ.

วิทยานิพนธ์ปริญญาสถาปัตยกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์

และการผังเมือง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

สลิลาทิพย์ ทิพยไกรศร. (2554). ประเทศไทย...เริ่มต้นพัฒนาระบบขนส่งมวลชนอย่างไร. Executive Journal,

(4), 55-58.

เอกวัฒน์ พันธาสุ และมนสิชา เพชรานนท์. (2554). พฤติกรรมการเดินทางในเมืองหลักภูมิภาค: กรณีศึกษาเมือง

เชียงใหม่. วารสารวิชาการ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 10(1), 74-91.

Chang, H. L., & Wu, S. C. (2005). Exploring the mode choicein daily travel behavior of the

elderly in Taiwan. Journal of the Eastern Asia Society for Transportation Studies, (6),

-1832.

Cervero, R. (1996). Jobs-housing balance revisited. Journal of the American Planning Association,

vol. 62, no. 4, pp. 492-511

Khisty J. & Lall K. (1983). The land use - transports System .Transportation Enginerring, pp 60.

Levinson, D.M. & Kumar, A. (1993). Is residential density a transportation. Urban Studies.

Malczewski, J. (1999). GIS and multicriteria decision analysis. New York : John Wily & Sons, Inc.

Marsden, G., Cattan, M., Jopson, A., & Woodward, J. (2008). Older people and transport:

Integrating transport planning tools and user needs. Retrieved September 10, 2019,

form http://www.rsparc.ac.uk/media/downloads/executivesummaries/exec_summary.pdf

Our Common Future. (1987). World Commission on Environment and Development (WCED).

[n.p.: n.p].

Parkany, E.,Gallagher, R., and Viveiros, P. (2003). Are attitudes important in travel choices?

Transportation. Paper presented at the Research Board Annual Meeting 2005, USA.

Schimek, P. (1996). Land-use, transit, and mode split in Boston and Toronto. Presented at the

International Congress, Toronto, Canada, July.

Stead, D. (2001). Relationships between land use, socioeconomic factors, and travel patterns

in Britain. Planning and Design, vol. 28, no. 4, pp. 499-52.

The Center for Sustainable Transportation. (2008). Sustainable transportation. Retrieved

November 15, 2019, form http://www.centreforsustainabletransportation.org/

The Center for Sustainable Transportation. (2008). Key issues in sustainable transportation.

Retrieved November 15, 2019, form http://www.gdrc.org/uem/sustran/key-issues.html

World Health Organization. (2007). Global Age-friendly Cities: A Guide. Retrieved November 26,

, form http://www.who.int/ageing/publications/Global_age_friendly_cities_Guide_

English.pdf. pp. 20-29.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2022-08-15

How to Cite

ศรีภูมี ก., & เพชรานนท์ ม. (2022). พฤติกรรมการเดินทางของผู้สูงอายุในเขตเมือง. สิ่งแวดล้อมสรรค์สร้างวินิจฉัย, 21(2), 129–143. https://doi.org/10.14456/bei.2022.18