พระอรหันต์ปัญญาวิมุต ต้องอาศัยฌานสมาบัติ ในการบรรลุธรรมหรือไม่

Main Article Content

พระมหาพงศ์ศักดิ์ ฐานิโย (คงคารัตนรักษ์), ดร.

บทคัดย่อ

ในบทความนี้ ผู้เขียนได้ยกประเด็นคำถามที่ว่า “พระอรหันต์ปัญญาวิมุต ต้องอาศัยฌานสมาบัติในการบรรลุธรรมหรือไม่” โดยมีวัตถุประสงค์ในการวิจัยเพื่อให้ทราบถึง หลักคำสอนในเรื่องความสัมพันธ์ของพระอรหันต์ “ปัญญาวิมุต” และ “ฌานสมาบัติ” ในคัมภีร์ “ยุคต้น” โดยอาศัยหลักฐานคัมภีร์พระสุตตันตปิฎกบาลี ผลจากการวิจัยได้คำตอบอย่างชัดเจนว่า “พระอรหันต์ปัญญาวิมุตต้องอาศัยฌานสมาบัติในการบรรลุธรรม” หากแต่สมาบัตินี้อยู่ในระดับของรูปฌานเท่านั้นไม่ถึงในระดับของอรูปฌาน สำหรับสมาบัติระดับของอรูปฌานนั้น เป็นสมาบัติที่จำเป็นสำหรับพระอรหันต์อุภโตภาควิมุต

Article Details

How to Cite
ฐานิโย (คงคารัตนรักษ์) พระมหาพงศ์ศักดิ์. 2018. “พระอรหันต์ปัญญาวิมุต ต้องอาศัยฌานสมาบัติ ในการบรรลุธรรมหรือไม่”. ธรรมธารา 1 (1):159-84. https://so01.tci-thaijo.org/index.php/dhammadhara/article/view/160703.
บท
บทความวิชาการทางพระพุทธศาสนา
Bookmark and Share

References

De Silva, Lily. 1978. “Cetovimutti, Pannavimutti and Ubhatobhagavimutti.” Pali Buddhist Review 3(3): 118-145.

Fujita, Masahiro (藤田正浩). 1994. “Shingedatsu-to-egedatsu 心解脱と慧解脱 (เจโตวิมุตติและปัญญาวิมุตติ).” Indogaku-bukkyōgaku-kenkyū 印度学仏教学研究 42(2): 574-578.

Kumoi, Shozen (雲井昭善). 1982. “Genshi-bukkyō-ni-okeru-gedatsu 原始仏教における解脱 (วิมุตติในพระพุทธศาสนายุคดั้งเดิม).” Bukkyōshisō 8: Gedatsu 仏教思想8・解脱 (แนวคิดพระพุทธศาสนา เล่มที่ 8: วิมุตติ): 81-116. Kyoto: Heirakujishoten

Hirakawa, Akira (平川彰). 1991. “Shingedatsu-yori-shingedatsu-e-no-tenkai 信解脱より心解脱への展開 (พัฒนาการจากสัทธาวิมุตติสู่เจโตวิมุตติ).” Genshi-bukkyō-to-abidarumabukkyō 原始仏教とアビダルマ仏教 (พระพุทธศาสนายุคดั้งเดิมและยุคอภิธรรม): 345-361. Tokyo: Shunjūsha.

Phrapongsak K. (プラポンサック ). 2009. “Kōdai-pāri-bunken-ni-okeru-shikan 後代パーリ文献における止観 (สมถวิปัสสนาในคัมภีร์พระพุทธศาสนาสายบาลียุคหลัง).” Bukkyōgaku-kenkyū 仏教学研究 65: 51-77.

Phrapongsak K. (プラポンサック ). 2010. “Nikāya-ni-okeru-shikan-no-kenkyū: Shikan-to-shingedatsu-egedatsuwo-chūshin-toshite Nikāya における止観の研究―止観と心解脱・慧解脱を中心として(การวิจัยสมถวิปัสสนาในคัมภีร์พระสุตตันตปิฎกของเถรวาท - กรณีศึกษาสมถวิปัสสนากับเจโตวิมุตติ-ปัญญาวิมุตติ).” Ryūkoku-daigaku-bukkyōgakukenkyūshitsu-nenpō 龍谷大学仏教学研究室年報 15: 1-20.

Watanabe, Fumimaro (渡辺文麿). 1982. “Pāri-bukkyō-ni-okeru-gedatsu-shisō パーリ仏教における解脱思想 (แนวคิดเรื่องวิมุตติในพระพุทธศาสนาเถรวาท).”Bukkyō-shisō 8: Gedatsu 仏教思想 8・解脱 (แนวคิดพระพุทธศาสนา เล่มที่ 8 - วิมุตติ): 117-147. Kyoto: Heirakujishoten.

Tamaki, Koshiro (玉城康四郎). 1984. “Gedatsu-ni-kansuru-kōsatsu: Gedatsu-e-no-bukkyōgaku-teki-hōhō-wofukumete 解脱に関する考察 ― 解脱への仏教学的方法を含めて (การศึกษาเรื่องความหลุดพ้น - วิธีปฏิบัติเพื่อให้หลุดพ้นในพระพุทธศาสนา).” Indogakubukkyōgaku-kenkyū 印度学仏教学研究 33(1): 39-46.

Tamaki, Koshiro (玉城康四郎). 1985. “Shingedatsu-egedatsu-ni-kansuru-kōsatsu 心解脱・慧解脱に関する考察(การศึกษาเกี่ยวกับเจโตวิมุตติและปัญญาวิมุตติ).” Bukkyō-no-rekishi-to-shisō :Mibutaishunhakushishōjukinen 仏教の歴史と思想・壬生台舜博士頌寿記念 (ประวัติศาสตร์และแนวคิดพระพุทธศาสนา: จัดพิมพ์เพื่อเป็นเกียรติแก่ ดร.ไทชุนมิบุ): 295-371. Tokyo: Daizōshuppansha