Tridanฺdฺi-sutra ในคัมภีร์ทีรฆาคมะฉบับใบลานภาษาสันสกฤต
Main Article Content
บทคัดย่อ
Tridaṇḍi-sūtra เป็นปฐมสูตรแห่งนิบาตลำดับสุดท้ายที่เรียกว่า “ศีลสกันธิกะ” ในคัมภีร์ทีรฆาคมะฉบับใบลาน ซึ่งได้ค้นพบที่กิลกิตเมื่อไม่นานมานี้ จวบจนกระทั่งปัจจุบัน Tridaṇḍi-sūtra ยังเป็นเพียงที่รู้จักโดยผ่านการอ้างถึงจากคัมภีร์ของฎีกาจารย์ทั้งหลาย เช่นอภิธรรมโกศวฺยาขฺยา รจนาโดยพระยโศมิตร คัมภีร์อภิธรรมโกศฎีกา อุปายิกา รจนาโดยพระศมถเทวะ แม้จะมีการอ้างถึงจากฎีกาจารย์ทั้งหลายทางฝ่ายเหนือแต่ก็ไม่พบพระสูตรใดที่มีชื่อคล้ายกับ Tridaṇḍi-sūtra ในสายอื่น ๆ ทั้ง สายคัมภีร์บาลี หรือแม้กระทั่งสายคัมภีร์อาคมะในพระไตรปิฎกจีนและพระไตรปิฎกทิเบตเองก็ตาม ผู้วิจัยได้เสนอเนื้อหาของ Tridaṇḍi-sūtra ที่เป็นปฐมสูตรพร้อมกับพระสูตรลำดับที่ 2 คือ Piṅgalātreya-sūtra ซึ่งมีเนื้อหาคล้ายกับ Tridaṇḍi-sūtra ที่ปรากฏในโครงสร้างของคัมภีร์ทีรฆาคมะของนิกายสรวาสติวาท อีกทั้งผู้วิจัยได้พบว่าโครงสร้างของ Tridaṇḍi-sūtra และ Piṅgalātreya-sūtra คล้ายกับพระสูตรในคัมภีร์บาลี 2 พระสูตร และสันนิษฐานว่า พระสูตรทั้งหลายเหล่านี้มาจากแหล่งที่เป็นต้นกำเนิดเดียวกัน
Article Details
ลิขสิทธิ์ สำนักการศึกษา วัดพระธรรมกาย
References
Enomoto, Fumio (榎本文雄). 1981. “Bukkyō-ni-okeru-sanmyō-no-seiritsu 初期仏典における三明の展開 (The Development of the Ti-vijja Thought in the Early Buddhist Scripture).” Indogaku-bukkyōga-ku-kenkyū 印度学仏教学研究 29(2): 39-42(L).
Enomoto, Fumio (榎本文雄). 1982. “Shoki-butten-ni-okeru-sanmyō-no-tenkai 初期仏典における三明の展開 (The Development of the Ti-vijja Thought in the Early Buddhist Scripture).” Bukkyō-ken-kyū 仏教研究 12: 63-81.
Honjō, Yoshifumi (本庄良文). 1985. “ウパーイカー所伝の長阿含.”Indogaku-bukkyōgaku-ken-kyū 印度学仏教学研究 66: 87-91(L)
Honjō, Yoshifumi (本庄良文). 1993. “シャマタデーヴァの伝へる阿含資料-業品(1) (Āgama Pas-sage as Quoted by Śamathadeva: Chap.IV (1)).” Bul-letin of Kobe Woman’s University 神戸女子大学紀要 26: 169-185.
Honjō, Yoshifumi (本庄良文). 1994. “シャマタデーヴァの伝へる阿含資料-業品 (4) (Āgama Pas-sage as Quoted by Śamathadeva: Chap.IV).”Journal of Kobe Woman’s University for Educational Sciences 神戸女子大学教育諸学研究論文集 8: 37-51.
Enomoto, Fumio (榎本文雄). 1981. “Bukkyō-ni-okeru-sanmyō-no-seiritsu 初期仏典における三明の展開 (The Development of the Ti-vijja Thought in the Early Buddhist Scripture).” Indogaku-bukkyōga-ku-kenkyū 印度学仏教学研究 29(2): 39-42(L).
Enomoto, Fumio (榎本文雄). 1982. “Shoki-butten-ni-okeru-sanmyō-no-tenkai 初期仏典における三明の展開 (The Development of the Ti-vijja Thought in the Early Buddhist Scripture).” Bukkyō-ken-kyū 仏教研究 12: 63-81.
Honjō, Yoshifumi (本庄良文). 1985. “ウパーイカー所伝の長阿含.”Indogaku-bukkyōgaku-ken-kyū 印度学仏教学研究 66: 87-91(L)
Honjō, Yoshifumi (本庄良文). 1993. “シャマタデーヴァの伝へる阿含資料-業品(1) (Āgama Pas-sage as Quoted by Śamathadeva: Chap.IV (1)).” Bul-letin of Kobe Woman’s University 神戸女子大学紀要 26: 169-185.
Honjō, Yoshifumi (本庄良文). 1994. “シャマタデーヴァの伝へる阿含資料-業品 (4) (Āgama Pas-sage as Quoted by Śamathadeva: Chap.IV).”Journal of Kobe Woman’s University for Educational Sciences 神戸女子大学教育諸学研究論文集 8: 37-51.