ถิ่นกำเนิดภาษาบาลี

Main Article Content

พระครูปลัดสุวัฒนโพธิคุณ (สมชาย ฐานวุฑฺโฒ)

บทคัดย่อ

ชาวพุทธเถรวาทมีความเชื่อถือตามจารีตว่า ภาษาบาลีคือภาษามคธที่พระสัมมาสัมพุทธเจ้าใช้ในการเทศนาสั่งสอนประชาชน จุดเริ่มต้นของการถกเถียงว่า ภาษาบาลีคือภาษามคธจริงหรือไม่ เกิดจากเหตุผลสำคัญ 2 ประการ คือ ชาวพุทธเถรวาทมีความเชื่อถือตามจารีตว่า ภาษาบาลีคือภาษามคธที่พระสัมมาสัมพุทธเจ้าใช้ในการเทศนาสั่งสอนประชาชน จุดเริ่มต้นของการถกเถียงว่า ภาษาบาลีคือภาษามคธจริงหรือไม่ เกิดจากเหตุผลสำคัญ 2 ประการ คือ
1) ภาษามคธ (ยุคหลัง) มีลักษณะพิเศษ 3 ประการที่แตกต่างจากภาษาบาลี
2) จารึกของพระเจ้าอโศกที่พบในดินแดนต่าง ๆ ของอินเดีย ไม่มีที่ใดที่จารึกด้วยภาษาบาลีเลย แต่มีจารึกที่เมือง Girnār ซึ่งอยู่ทางอินเดียตะวันตกมีความคล้ายภาษาบาลีมาก

จึงเริ่มเกิดการวิเคราะห์ถกเถียงกันขนานใหญ่ในหมู่นักวิชาการมากว่า 100 ปี ว่า ภาษาบาลีมีถิ่นกำเนิดที่ใดกันแน่ ทำไมจึงกลายเป็นภาษาคัมภีร์ของชาวพุทธเถรวาท มีทฤษฎีต่าง ๆ เกิดขึ้นจำนวนมาก ปัจจุบันทฤษฎีที่ได้รับความเชื่อถือมากมี 2 ทฤษฎีคือ
1) ภาษาบาลีเป็นภาษาของทางอินเดียตะวันตก (แคว้นมคธอยู่ทางอินเดียตะวันออก)
2) ภาษาบาลีเป็นภาษาของแคว้นมคธที่พระพุทธเจ้าทรงใช้ในการสอน

บทวิจัยนี้ได้ทำการตรวจสอบเหตุผลและหลักฐานทั้งที่สนับสนุนและแย้งทฤษฎีทั้ง 2 และได้บทสรุปอย่างชัดเจนว่า ภาษาบาลีคือภาษาของแคว้นมคธที่พระพุทธเจ้าทรงใช้ในการสั่งสอนประชาชน

Article Details

How to Cite
ฐานวุฑฺโฒ) พระครูปลัดสุวัฒนโพธิคุณ (สมชาย. 2018. “ถิ่นกำเนิดภาษาบาลี”. ธรรมธารา 3 (1):11-87. https://so01.tci-thaijo.org/index.php/dhammadhara/article/view/160761.
บท
บทความวิชาการทางพระพุทธศาสนา
Bookmark and Share

References

Brough, John. 1980. “Sakāya Niruttiyā: Cauld kale het.” The Language of the Earliest Buddhist Tradition: 35-42, edited by Heinz Bechert. Göttingen: Vandenhoeck and Ruprecht.

Geiger, Wilhelm. 1912. “Introduction.” The Mahāvaṃsa: ix-lxiii. London: PTS.

Geiger, Wilhelm. 1987. Pāri: Bunken-to-gengo Pāli: 文献と言語. translated by Bando Shōkū (伴戸昇空訳). Kyoto: Abhidharma Research Institute. (German original. 1916)

Geiger, Wilhelm. 1996. Pāli Literature and Language. translated by Batakrishna Ghosh. New Delhi: Munshiram Manoharlal (German Original: 1916).

Gombrich, Richard Francis. 1990. “Recovering the Buddha’s Message.” Earliest Buddhism and Madhyamaka: 5-23, edited by D.S. Ruegg and L. Schmithausen. Leiden: E.J.Brill. (Reprinted in Williams(2005) vol. 1, Ch. 7)

Hazra, Kanai Lal. 1994. Pāli Language and Literature: A Systematic Survey and Historical Study vol.1. New Delhi: D. K. Printworld.

Kanakura, Enshō (金倉円照). 1939. Indo-kodai-seishinshi 印度古代精神史 (ประวัติจิตวิญญาณในอินเดียโบราณ). Tokyo: Iwanamishoten. Law, Bimala Chuen.

Kanakura, Enshō (金倉円照). 1933. A History of Pāli Literature Ⅰ. London: Kegan Paul, Trench and Trubner.

Mayeda, Egaku (前田恵学). 1964. Genshi-bukkyō-seiten-no-seiritsushi-kenkyū 原始仏教聖典の成立史研究 (A History of the Formation of Original Buddhist Texts). Tokyo: Sankibōbusshorin.

Mizuno, Kōgen (水野弘元). 1955. Pārigo-bunpō パーリ語文法 (ไวยากรณ์บาลี). Tokyo: Sankibōbusshorin.

Mori, Sōdo (森祖道). 1984. Pāri-bukkyō-chūshaku-bunken-no-kenkyū パーリ仏教註釈文献の研究 (A Study of the Pāli Commentaries). Tokyo: Sankibōbusshorin.

Mudiyanse, Nandasena. 2002. “A Short History of the Sinhala Language.” Buddhist and Indian Studies in Honour of Professor Sodo Mori: 547-554, edited by Publication Committee for Buddhist and Indian Studies in Honour of Professor Dr.Sodo Mori. Hamamatsu: Kokusai Bukkyōto Kyōkai

Nakamura, Hajime (中村元). 1997. “Fuhenni mauriya-ōchō-narabi-ni-gōtama-budda-no-nendai-nitsuite [付編二] マウリヤ王朝ならびにゴータマ ・ブッダの年代について(ภาคผนวกลำดับที่ 2: สมัยพุทธกาลและราชวงศ์โมริยะ)." Indoshi vol.2 Nakamura-hajime-senshū インド史Ⅱ . 中村元選集 #6 (ประวัติศาสตร์อินเดีย เล่มที่ 2 - รวมผลงานเขียนนากามูระ ฮาจิเมะ ลำดับที่ 6) : 581-619. Tokyo: Shunjūsha.

Norman, Kenneth Roy. 1980. “The Dialects in which the Buddha Preached.” The Language of the Earliest Buddhist Tradition: 61-77, edited by Heinz Bechert. Göttingen: Vanden- hoeck and Ruprecht.

Norman, Kenneth Roy. 1994. Collected papers V. Oxford: PTS.

Oldenberg, Hermann. 1879. The Vinaya Piṭakaṃ: one of the principal Buddhist holy scriptures in the Pāli language vol. I: the Mahāvagga. London: Williams and Norgate.

Ong, Walter Jackson. 1982. Orality and Literacy: The Technologizing of the Word. London/New York: Routledge.

Rhys Davids, Thomas William. 1993. Buddhist India. Delhi: Motilal Banarsidass. (first printed, London: 1903)

Shimoda, Masahiro (下田正弘). 1997. Nehankyō-no-kenkyū: Daijō-kyōten-no-kenkyū-hōhō-shikiron 涅槃経の研究 ― 大乗経典の研究方法試論 (A Study of the Mahāparinirvāṇasūtra: With a Focus on the Methodology of the Study of Mahāyānasūtras). Tokyo: Shunjūsha.

Thanavuddho Bhikkhu. 2003. “Shoki-bukkyō-ni-okeru-seiten-seiritsu-to-shugyō-taikei 初期仏教における聖典成立と修行体系 (กำเนิดพระไตรปิฎกและแนวปฏิบัติสู่การตรัสรู้ธรรมในพระพุทธศาสนายุคดั้งเดิม).” PhD diss., University of Tokyo.

Winternitz, Mourice. 1983. History of Indian Literature II. Delhi: Motial Banarsidass.(Reprinted: Delhi 1988)

Yamada, Meiji(山田明爾). 1964. "Pārigo-kigen-ronsō-no-tenbō パーリ語起源論争の展望 (A Note on the Origin of Pāli.)." Bukkyōgaku-kenkyū 仏教学研究21: 41-47.

Yamasaki, Gen'ichi (山崎元一). 1979. Ashōka-ō-densetsu-no-kenkyū アショーカ王伝説の研究 (The Legend Aśoka: A Critical Study). Tokyo: Shunjūsha.