คัมภีร์มูลมัธยมกการิกาแปลไทย (1): คำแปลโศลกไหว้ครู และอรรถาธิบาย pratītyasamutpāda ในคัมภีร์ Prasannapadā
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความนี้เป็นคำแปลภาษาไทยของคัมภีร์มูลมัธยมกการิกาในส่วนโศลกไหว้ครู โดยแปลจากต้นฉบับภาษาสันสกฤต เทียบเคียงกับพากย์จีน และพากย์ทิเบต นอกจากนั้น ยังแปลประเด็นวิวาทะเรื่อง ปฏิจจสมุปบาท ในคัมภีร์ปฺรสนฺนปทา (Prasannapadā) ที่อรรถาธิบายคัมภีร์มูลมัธยมกการิกา รจนาโดยพระจันทรกีรติ โดยแปลจากต้นฉบับภาษาสันสกฤต เทียบเคียงกับพากย์ทิเบต
Article Details
ลิขสิทธิ์ สำนักการศึกษา วัดพระธรรมกาย
References
พุทธทาสภิกขุ. 2547. ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ์. พิมพ์ครั้งที่ 7. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์สุขภาพใจ.
เมธี พิทักษ์ธีระธรรม และสมบัติ มั่งมีสุขศิริ. 2560. "คัมภีร์มูลมัธยมกการิกาแปลไทย (1): คำแปลโศลกไหว้ครู และอรรถาธิบาย pratītyasamutpāda ในคัมภีร์ Prasannapadā." ธรรมธารา วารสารวิชาการทางพระพุทธศาสนา 3(2).
สมบัติ มั่งมีสุขศิริ. 2559. “ภาษาคน ภาษาธรรมของพระนาคารชุนในคัมภีร์มูลมัธยมกการิกา.” ธรรมธารา วารสารวิชาการทางพระพุทธศาสนา 2(1): 35-65.
สมภาร พรมทา. 2559. พุทธปรัชญาในอภิธรรมปิฎก : จัดพิมพ์เนื่องในโอกาสเกษียณอายุราชการของศาสตราจารย์ ดร.สมภาร พรมทา. นนทบุรี: ปัญญฉัตร์ บุคส์บายดิ้ง.
Garfield, Jay L.. 1995. The Fundamental Wisdom of the Middle Way: Nagarjuna’s Mulamadhyamakakarika. New York: Oxford University Press.
Kalupahana, David J.. 1999. Mūlamadhyamakakārikā of Nāgārjuna. Delhi: Motilal Banarsidass.
Inada, Kennent K.. 1970. Nāgārjuna: A translation of his Mūlamadhyamakakārikā with an introductory Essay.Tokyo: The Hokuseido Press.
Bapat, P.V.. 1997. 2500 Years of Buddhism. New Delhi: Publications Division, Ministry of Information and Broadcasting, Government of India.
Porter, Karl H. editor. 1996. Encyclopedia of Indian Philosophy: Abhidharma Buddhism to 150 AD. Volume VII. Delhi: Motilal Banarsidass.
Musashi, Tachikawa. 1997. An Introduction to the Philosophy of Nāgārjuna. translated by Rolf W. Giebel. Delhi: Motilal Banarsidass.
สมภาร พรมทา. 2560. อิทัปปัจจยตาคืออะไร สำคัญอย่างไร. ค้นเมื่อ 8 พฤศจิกายน 2560, https://www.youtube.com/watch?v=55U_B1bvTYo