แนวโน้มและพัฒนาการทฤษฎีการกำเนิดของพระพุทธศาสนามหายาน (2)

Main Article Content

พระมหาพงศ์ศักดิ์ ฐานิโย (คงคารัตนรักษ์)

บทคัดย่อ

     ในบทความนี้ ผู้เขียนได้กล่าวถึงงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการสืบค้นถึงต้นกำเนิดของพระพุทธศาสนามหายาน ซึ่งในช่วงหลายปีที่ผ่านมา งานวิจัยส่วนใหญ่ในโลกโน้มเอียงไปทิศทางว่า ต้นกำเนิดของพระพุทธศาสนามหายานมาจากพระพุทธศาสนานิกายหินยาน อย่างไรก็ตาม แม้จะมีการศึกษาวิจัยในเรื่องนี้มาอย่างยาวนาน แต่นักวิจัยก็ยังไม่สามารถได้ข้อสรุปที่สอดคล้องกันทั้งหมดของต้นกำเนิดพระพุทธศาสนามหายานได้ ซึ่งสิ่งนี้แสดงให้เห็นว่าพระพุทธศาสนามหายานนั้นอาจจะไม่ได้มีต้นกำเนิดที่มาจากแหล่งกำเนิดเพียงหนึ่งเดียว แต่เป็นปรากฏการณ์จากแหล่งกำเนิดหลายๆ จุดพร้อมๆ กัน


     นอกจากนี้ ผู้เขียนยังได้นำเสนอประเด็นการวิจัยเกี่ยวกับพระสถูป, สถานที่อยู่ของพระโพธิสัตว์มหายาน, การวิเคราะห์คัมภีร์มหายาน, การถกเถียงเรื่องสิ่งที่เป็นพุทธพจน์และไม่ใช่พุทธพจน์ในคำสอนมหายาน, การค้นหาเอกสารหลักฐานที่เกิดขึ้นมาในยุคเดียวกับการกำเนิดมหายาน, การอธิบายถึงวิภัชชวาทและสรวาสติวาทในยุคก่อนอภิธรรมมหาวิภาษา และการศึกษาในเรื่องชื่อของมหายาน ซึ่งประเด็นการวิจัยเหล่านี้ ล้วนมีประโยชน์อย่างมากต่องานวิจัยในการสืบค้นถึงต้นกำเนิดของพระพุทธศาสนามหายานต่อไปในอนาคต

Article Details

How to Cite
ฐานิโย (คงคารัตนรักษ์) พระมหาพงศ์ศักดิ์. 2019. “แนวโน้มและพัฒนาการทฤษฎีการกำเนิดของพระพุทธศาสนามหายาน (2)”. ธรรมธารา 5 (2):1-34. https://so01.tci-thaijo.org/index.php/dhammadhara/article/view/209750.
บท
บทความแปลจากภาษาต่างประเทศ
Bookmark and Share

References

ENDŌ, Toshiichi (遠藤敏一). 1997. Buddha in Theravada Buddhism. Dehiwala: Buddhist Cultural Centre.

ENDŌ, Toshiichi (遠藤敏一). 2004. “Pāri chūshaku bunken ni arawareta Buddakan to sono suriranka teki henyō パーリ註釈文献に現れた仏陀観とそのスリランカ的変容 (ทรรศนะเกี่ยวกับพระพุทธเจ้าที่ปรากฏในอรรถกถาบาลีและการเปลี่ยนแปลงทรรศนะนั้นในศรีลังกา).” Bukkyōgaku Kenkyū 仏教研究33: 33-50.

FUJITA, Kōtatsu (藤田宏逹). 2007. Jōdosanbukyō no kenkyū 浄土三部経の研究 (การศึกษาวิจัยพระสูตรไตรภาคของนิกายสุขาวดี). Tokyo: Iwanami Shoten.

FUJITA, Yoshimichi (藤田祥道). 1997. “Kurikin-ō no yochimutan to Daijō bussetsuron: Daijōshōgonkyōron dai 1 shō dai 7 ge no ichikōsatsu クリキン王の予知夢譚と大乗仏説論:『大乗荘厳経論』第1章第7偈の一考察 (เรื่องราวความฝันของพระเจ้ากฤกิน (Kṛkin) กับคำสอนของมหายาน: กรณีศึกษา มหายานสูตรอลังการ บทที่ 1 คาถาที่ 7).” Indogaku Chibettogaku Kenkyū インド学チベット学研究 2: 1-21.

FUJITA, Yoshimichi (藤田祥道). 1998. “Butsugo no teigi o meguru kōsatsu 仏語の定義をめぐる考察 (ศึกษาปัญหาการให้คำจำกัดความของพุทธพจน์).” Indogaku Chibettogaku Kenkyū インド学チベット学研究 3: 1-51.

FUJITA, Yoshimichi (藤田祥道). 2006. “Daijō no shokyōron ni mirareru Daijō bussetsuron no keifu: I. Hannyakyō: ‘Chie no kansei’ o hibō suru bosatsu to osoreru bosatsu 大乗の諸経論に見られる大乗仏説論の系譜: I.『般若経』:「智慧の完成」を誹謗する菩薩と恐れる菩薩 (วิวัฒนาการคำสอนของมหายานที่ปรากฏในคัมภีร์มหายาน: I. ปรัชญาปารมิตาสูตร: พระโพธิสัตว์ผู้กล่าวร้ายและพระโพธิสัตว์ผู้หวาดกลัวต่อ ‘ปรัชญาปารมิตา’).” Indogaku Chibettogaku Kenkyū インド学チベット学研究 9/10: 1-55.

FUJITA, Yoshimichi (藤田祥道). 2006. “Daijō no shokyōron ni mirareru Daijō bussetsuron no keifu: II. Kashōbon: Butsuda no seppō to sono rikai 大乗の諸経論に見られる大乗仏説論の系譜: II.『迦葉品』: 仏陀の説法とその理解 (วิวัฒนาการคำสอนของมหายานที่ปรากฏในคัมภีร์มหายาน: II. กัสยปปริวรรต: พระธรรมเทศนาของพระพุทธเจ้ากับการทำความเข้าใจในพระธรรมเทศนานั้น).” Bukkyōgaku Kenkyū 仏教学研究 60/61: 44-65.

FUJITA, Yoshimichi (藤田祥道). 2007. “Daijō no shokyōron ni mirareru Daijō bussetsuron no keifu: III. Gejinmikkyō: sanmujishōsetsu to iu ichijōdō no kaiji 大乗の諸経論に見られる大乗仏説論の系譜: III.『解深密経』: 三無自性説という一乗道の開示 (วิวัฒนาการคำสอนของมหายานที่ปรากฏในคัมภีร์มหายาน: III. สันธินิรโมจนสูตร: การปรากฏของวิถีแห่งเอกยานในแนวคิดเรื่อง ตฺรินิหฺสฺวภว (tri-nihsvabhava)).” Indogaku Chibettogaku Kenkyū インド学チベット学研究 11: 1-30.

FUJITA, Yoshimichi (藤田祥道). 2008. “Daijō no shokyōron ni mirareru Daijō bussetsuron no keifu: IV. Daijōshōgonkyōron: sōkatsu to tenbō 大乗の諸経論に見られる大乗仏説論の系譜: IV.『大乗荘厳経論』: 総括と展望 (วิวัฒนาการคำสอนของมหายานที่ปรากฏในคัมภีร์มหายาน: IV. มหายานสูตรอลังการ: บทสรุปและความคาดหวัง).” Indogaku Chibettogaku Kenkyū インド学チベット学研究 12: 1-30.

FUJITA, Yoshimichi (藤田祥道). 2009. “The Bodhisattva Thought of the Sarvāstivādins and Mahāyāna Buddhism.” Acta Asiatica 96: 99-120.

HARRISON, Paul. 1987. “Who Gets to Ride in the Great Vehicle? Self-Image and Identity Among the Followers of the Early Mahāyāna.” Journal of the International Association of Buddhist Studies 10 (1): 67-89.

HARRISON, Paul. 1995a. “Searching for the Origins of the Mahāyāna: What Are We Looking For?” The Eastern Buddhist (New Series) 28 (1): 48-69.

HARRISON, Paul. 1995b. “Some Reflections on the Personality of the Buddha.” Ōtani Gakuhō 大谷学報 74 (4): 1-28.

HARRISON, Paul. 2003. “Mediums and Messages: Reflections on the Production of Mahāyāna Sūtras.” The Eastern Buddhist (New Series) 35 (1/2): 115-151.

HIRAKAWA, Akira (平川彰). 1968. Shoki Daijō Bukkyō no kenkyū 初期大乗仏教の研究 (การศึกษาวิจัยพระพุทธศาสนามหายานยุคต้น). Tokyo: Shunjūsha. Revised edition in Hirakawa Akira chosakushū 平川彰著作集 (รวมผลงานเขียนของฮิรากาวะ) vol. 3 (1989) and vol. 4 (1990).

HONJŌ, Yoshifumi (本庄良文). 1989. “Abidatsuma bussetsuron to Daijō bussetsuron 阿毘達磨仏説論と大乗仏説論 (คำสอนในอภิธรรมและคำสอนในมหายาน).” Indogaku Bukkyōgaku Kenkyū 印度学仏教学研究 38 (1): 410-405.

HONJŌ, Yoshifumi (本庄良文). 1990. “Shakkiron dai 4 shō: Seshin no Daijō bussetsuron (jō)『釈軌論』第四章: 世親の大乗仏説論 (上) (วยาขยายุกติ บทที่ 4: คำสอนมหายานของท่านวสุพันธุ ตอนแรก).” Kōbe Joshi Daigaku Kenkyū Kiyō Bungakubu hen 神戸女子大学研究紀要 文学部篇 23 (1): 57-70.

HONJŌ, Yoshifumi (本庄良文). 1992. “Shakkiron dai 4 shō: Seshin no Daijō bussetsuron (ge)『釈軌論』第四章: 世親の大乗仏説論 (下) (วยาขยายุกติ บทที่ 4: คำสอนมหายานของท่านวสุพันธุ ตอนจบ).” Kōbe Joshi Daigaku Kenkyū Kiyō Bungakubu hen 神戸女子大学研究紀要 文学部篇 25 (1): 108-118.

HONJŌ, Yoshifumi (本庄良文). 2001. “Shakkiron dai 1 shō (jō) Seshin no kyōten kaishakuhō『釈軌論』第一章 (上) 世親の経典解釈法 (วยาขยายุกติ บทที่ 1 (ตอนแรก) วิธีอรรถาธิบายพระสูตรของท่านวสุพันธุ).” Kagawa Takao hakase koki kinen ronshū: Bukkyōgaku Jōdogaku kenkyū 香川孝雄博士古希記念論集: 仏教学浄土学研究 (รวมผลงานวิจัยในวาระฉลองสิริอายุครบ 70 ปี ดร. คางาวะ ทากาโอะ: งานวิจัยพุทธศาสตร์และสุขาวดีศาสตร์): 107-119, Kyoto: Nagata Bunshōdō.

KATSUMOTO, Karen (勝本華蓮). 2006. “Bosatsu no butsudō shugyō: Nanden Shogyōzōkyō oyobi sono chūshaku o chūshin to suru haramitsu no kenkyū 菩薩の仏道修行: 南伝『所行蔵経』およびその註釈を中心とする波羅蜜の研究 (วิธีปฏิบัติเพื่อความเป็นพุทธะของพระโพธิสัตว์: การศึกษาวิจัยเรื่องบารมีในคัมภีร์จริยาปิฎกและอรรถกถาบาลี).” Ph.D. diss., Hanazono University.

KARASHIMA, Seishi (辛嶋静志). 1993. “Hokkekyō ni okeru jō (yāna) to chie (jñāna): Daijō Bukkyō ni okeru yāna no gainen no kigen ni tsuite法華経における乗 (yāna) と智慧 (jñāna): 大乗仏教におけるの yāna 概念の起源について (‘ยาน’ และ ‘ปรัชญา’ ในสัทธรรมปุณฑริกสูตร: ต้นกำเนิดของแนวคิดเรื่อง ‘ยาน’ ในพระพุทธศาสนามหายาน).” Hokkekyō no juyō to tenkai 法華経の受容と展開 (การยอมรับและวิวัฒนาการของสัทธรรมปุณฑริกสูตร): 137-197, Kyoto: Heirakuji Shoten.

KARASHIMA, Seishi (辛嶋静志). 2005. “Shoki Daijō butten wa dare ga tsukutta ka: arannyajū biku to sonjū biku no tairitsu 初期大乗仏典は誰が作ったか: 阿蘭若住比丘と村住比丘の対立 (ใครคือผู้สร้างคัมภีร์มหายานยุคต้น: ความขัดแย้งระหว่างภิกษุผู้อยู่ในอรัญญะและภิกษุผู้อยู่ในหมู่บ้าน).” Bukkyō Daigaku Sōgō Kenkyūjo Kiyō (sep. issue): Bukkyō to shizen 佛教大学総合研究所紀要別冊: 仏教と自然 (พระพุทธศาสนากับธรรมชาติ): 45-70.

KIMURA, Taiken (木村泰賢). 1937. Kimura Taiken zenshū dai 4 kan: Shōjō Bukkyō shisōron 木村泰賢全集第四巻: 小乗仏教思想論 (รวมผลงานเขียนของคิมุระ ทะอิเคน เล่มที่ 4: แนวคิดพระพุทธศาสนาหินยาน). Tokyo: Meiji Shoin.

NAKAMURA, Hajime (中村元). 2001. Kōsetsu Bukkyōgo daijiten 広説佛教語大辞典 (พจนานุกรมศัพท์ในพระพุทธศาสนา). Tokyo: Tokyō Shoseki.

NATTIER, Jan. 2003. A Few Good Men: The Bodhisattva Path According to the Inquiry of Ugra (Ugraparipṛcchā). Honolulu: University of Hawai‘i Press.

NISHI, Yoshio (西義雄). 1945. Shoki Daijō Bukkyō no kenkyū 初期大乗仏教の研究 (การศึกษาวิจัยพระพุทธศาสนามหายานยุคต้น). Tokyo: Daitō Shuppansha.

NISHI, Yoshio (西義雄). 1968. “Hannyakyō ni okeru bosatsu no rinen to jissen 般若経における菩薩の理念と実践 (อุดมคติและการปฏิบัติของพระโพธิสัตว์ในปรัชญาปารมิตาสูตร).” Daijō basatsudō no kenkyū 大乗菩薩道の研究 (การศึกษาวิจัยวิถีแห่งพระโพธิสัตว์มหายาน): 1-159, Kyoto: Heirakuji Shoten.

NISHI, Yoshio (西義雄). 1975. Abidatsuma Bukkyō no kenkyū 阿毘達磨仏教の研究 (การศึกษาวิจัยพระพุทธศาสนายุคอภิธรรม). Tokyo: Kokusho Kankōkai.

NISHI, Yoshio (西義雄). 1976. “Abidatsuma Bukkyō ni okeru Butsuda no hongan setsu: fu bosatsu no akushu ganshō setsu 阿毘達磨仏教に於ける仏陀の本願説: 附 菩薩の悪趣願生説 (แนวคิดเรื่องการตั้งปณิธานของพระพุทธเจ้าในพระพุทธศาสนายุคอภิธรรม: ภาคผนวก การตั้งปณิธานไปบังเกิดในอบายภูมิของพระโพธิสัตว์).” Tōyōgaku Kenkyū 東洋学研究 10: 1-36.

NISHI, Yoshio (西義雄). 1979. “Setsuissaiubu to shoki Daijō to no kankei 説一切有部と初期大乗との関係 (ความสัมพันธ์ระหว่างสรวาสติวาทกับมหายานยุคต้น).” Tōyōgaku Kenkyū 東洋学研究 13: 1-8.

RAY, Reginald. 1994. Buddhist Saints in India: A Study in Buddhist Values and Orientations. New York: Oxford University Press.

SASAKI, Shizuka (佐々木閑). 2003. “Aranya ni okeru biku no seikatsu アランヤにおける比丘の生活 (ชีวิตความเป็นอยู่ของภิกษุผู้อยู่ในอรัญญะ).” Indogaku Bukkyōgaku Kenkyū 印度学仏教学研究 51 (2): 812-806.

SASAKI, Shizuka (佐々木閑). 2004a. “Aranya no kūkan teigi アランヤの空間定義 (คำจำกัดความของพื้นที่อรัญญะ).” Mikogami Eshō kyōju shōju kinen ronshū: Indo tetsugaku Bukkyō shisō ronshū 神子上恵生教授頌寿記念論集:インド哲学仏教思想論集 (รวบรวมผลงานวิจัยในวาระฉลองอายุวัฒนมงคล ศ. มิโกะงามิ เอะโช: ปรัชญาอินเดียและแนวคิดในพระพุทธศาสนา): 127-146, Kyoto: Nagata Bunshōdō.

SASAKI, Shizuka (佐々木閑). 2004b. “Araṇya Dwellers in Buddhism.” Bukkyō Kenkyū 仏教研究 32: 1-13.

SASAKI, Shizuka (佐々木閑). 2009a. “A Basic Approach for Research on the Origins of Mahāyāna Buddhism.” Acta Asiatica 96: 25-46.

SASAKI, Shizuka (佐々木閑). 2009b. “The Mahāparinirvāṇa Sūtra and the Origins of Mahāyāna Buddhism.” (Review Article) Japanese Journal of Religious Studies 26-1/2: 189-197.

“Daijō Bukkyō kigenron no tenbō 大乗仏教起源論の展望 (มุมมองในการศึกษาการกำเนิดของพระพุทธศาสนามหายาน).” Shirīzu Daijō Bukkyō 1: Daijō Bukkyō to wa nani ka シリーズ大乗仏教1: 大乗仏教とは何か (ซีรีส์พระพุทธศาสนามหายาน: 1 พระพุทธศาสนามหายานคืออะไร): 73-112. Tokyo: Shunjūsha.

SHIMODA, Masahiro (下田正弘). 1997. Nehangyō no kenkyū: Daijō kyōten no kenkyū hōhō shiron 涅槃経の研究: 大乗経典の研究方法試論 (การศึกษาวิจัยมหาปรินิพพานสูตร: วิธีการศึกษาวิจัยคัมภีร์พระพุทธศาสนามหายาน). Tokyo: Shunjūsha.

SHIMODA, Masahiro (下田正弘). 2009. “The State of Research on Mahāyāna Buddhism: The Mahāyāna as Seen in Developments in the Study of Mahāyāna Sūtras.” Acta Asiatica 96: 1-23.

WATANABE, Shōgo (渡辺章悟). 2009. “The Role of “Destruction of the Dhamma” and “Predictions” in Mahāyāna Sūtras: with a Focus on the Prajñāpāramitā Sūtras.” Acta Asiatica 96: 77-97.