โชเปนฮาวเออร์ข้อวิพากษ์แนวคิดแบบทุนิยม

Main Article Content

รุ่งนิภา เหลียง

บทคัดย่อ

      บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิพากษ์ข้อโต้แย้งเกี่ยวกับข้ออ้างบางประการที่ อาเธอร์ โชเปนฮาวเออร์ (Arthur Schopenhauer) นักปรัชญาเมธีชาวเยอรมันถูกกล่าวหาว่าเป็นนักคิดผู้มีทัศนะค่อนข้างจะเป็น “ทุนิยม” หรือที่รู้จักกันทั่วไปว่า เป็นผู้มีวิธีคิดแบบมองโลกในแง่ร้าย (pessimist) มากเกินไปจนก่อให้เกิดผลเสียมากกว่าผลดีต่อผู้ที่ได้ศึกษาผลงานของเขา โดยจะแบ่งโครงสร้างในการนำเสนอออกเป็น 3 ส่วน ประเด็นที่หนึ่ง คือ ความหมายของชีวิตในทัศนะของโชเปนฮาวเออร์ ประเด็นที่สอง คือ การเสนอข้ออ้างเพื่อโต้แย้งและสนับสนุนการมองโลกแบบทุนิยม และประการสุดท้าย ผู้เขียนจะเสนอความเป็นไปได้ที่จะประนีประนอมให้เห็นถึงข้อเด่นบางประการของการมองโลกตามความเป็นจริง ซึ่งต้องอาศัยการมีจุดเริ่มต้นจากการมองชีวิตว่าเป็นรวมศูนย์ของความปรารถนา ความอยาก ซึ่งเป็นองคาพยพหนึ่งของการมองโลกแบบทุนิยมหรือทุทรรศนนิยมนั่นเอง

Article Details

How to Cite
เหลียง รุ่งนิภา. 2020. “โชเปนฮาวเออร์ข้อวิพากษ์แนวคิดแบบทุนิยม”. ธรรมธารา 6 (1):79-112. https://so01.tci-thaijo.org/index.php/dhammadhara/article/view/225478.
บท
บทความวิชาการทางพระพุทธศาสนา
Bookmark and Share

References

• ภาษาไทย

─1. คัมภีร์

มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. 2539.

─2. หนังสือ

เซอร์ โธมัส มอร์. ยูโธเปีย. แปลโดย สมบัติ จันทรวงศ์. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์สมมติ, 2551.

ธนู แก้วโอภาส. ปรัชญา-ศาสนา ตะวันออก ตะวันตก. กรุงเทพมหานคร: สากลการศึกษา, 2530.

พระศรีคัมภีรญาณ. พุทธปรัชญา. กรุงเทพมหานคร: มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, 2556.

วิจิตร เกิดวิสิษฐ์. ปรัชญาอินเดียสังเขป. กรุงเทพมหานคร: จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2520.

วิทย์ วิศทเวทย์. จริยศาสตร์เบื้องต้น มนุษย์กับปัญหาจริยธรรม. กรุงเทพมหานคร: อักษรเจริญทัศน์, 2538.

สุนทร ณ รังษี. ปรัชญาอินเดีย: ประวัติและลัทธิ. กรุงเทพมหานคร: จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2532.

อดิศักดิ์ ทองบุญ. ปรัชญาอินเดีย. กรุงเทพมหานคร: อมรินทร์, 2532.

─3. พจนานุกรม สารานุกรม

ราชบัณฑิตยสถาน. พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554 เฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 7 รอบ 5 ธันวาคม 2554. กรุงเทพมหานคร: นามมีบุ๊คส์พับลิเคชั่นส์ จำกัด, 2556.

ราชบัณฑิตยสถาน. พจนานุกรมศัพท์ปรัชญาอังกฤษ-ไทย. กรุงเทพมหานคร: ศักดิโสภาการพิมพ์, 2548.

• ภาษาต่างประเทศ

─1. หนังสือภาษาอังกฤษ

Buddhist Publication Society. The Three Basic Facts of Existence: ll Suffering. Kandy: Buddhist Publication Society, 1973.

Delius, Christoph, Matthias Gatzemeier, Deniz Sertcan and Kathleen Wünscher. The Story of Philosophy From Antiquity to The Present. China: h.f.ullmann, 2014.

Graham, Gor. Philosophy Theories of Ethics : An Introduction to Moral Philosophy with a Selection of Classic Readings. New York: Routledge, 2011.

Schopenhauer, Arthur. Essays and Aphorisms. Translated by R.J. Hollingdale. Great Britain: Hazell Watson & Viney Ltd., 1970.

Schopenhauer, Arthur. The World as Will and Idea. Vol. 1., Translated by R.B. Haldane and J. Kemp. London: Routledge & Kegan Paul Ltd., 1964.

Stokes, Philip. Philosophy The Great Thinkers. China: Arcturus Publishing Ltd., 2008.

─2. บทความภาษาอังกฤษ

Varakamin, S.. “Human cell & Stem cell.” J. Bureau of Alternative Medicine, 5(2), (2012): 5-16.