นวัตกรรมและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการจัดการความรู้ เพื่อการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ในสหกรณ์

Main Article Content

วรชัย สิงหฤกษ์
วิโรจน์ เจษฏาลักษณ์

บทคัดย่อ

บทความนี้ผู้เขียนมีวัตถุประสงค์เพื่อชี้ให้เห็นถึงการสร้างนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการจัดการความรู้เพื่อที่จะนำไปพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ในสหกรณ์ โดยสหกรณ์ต้องมีความมุ่งมั่นในการนำพาสหกรณ์ไปสู่สหกรณ์แห่งการสร้างนวัตกรรม โดยปัจจัยที่สำคัญในการสร้างนวัตกรรมคือ คน, ความรู้ ความสามารถ และทักษะทางปัญญาของทรัพยากรมนุษย์ ซึ่งเป็นหัวใจสำคัญในการสร้างประสิทธิภาพ โดยกลไกในการสร้างนวัตกรรมใหม่ให้ประสบความสำเร็จในสหกรณ์นั้นเกิดจากการสร้างและการเชื่อมโยงทีมงาน และองค์ความรู้ต่างๆ ทั้งภายในและภายนอกสหกรณ์เข้าไว้ด้วยกัน สำหรับสหกรณ์ที่สามารถอยู่รอดได้นั้นสหกรณ์ต้องสร้างนวัตกรรมซึ่งบุคคลที่จะสร้างนวัตกรรมได้ดีได้ก็ขึ้นอยู่กับวิสัยทัศน์ของผู้นำสหกรณ์ ศักยภาพของทรัพยากรมนุษย์ สภาพแวดล้อมในการทำงาน และวัฒนธรรมของสหกรณ์

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

จุฑามาศ กรีพานิช. (2551). นวัตกรรมและการใช้ IT ในการจัดการความรู้เพื่อการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์. กรุงเทพฯ: สำนักบริการวิชาการ สมาคมนักเรียนเก่าเทพศิรินทร์

เฉลิมพงศ์ มีสมนัย. (2559). การสร้างนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์โดยการฝึกอบรม. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยเจ้าพระยา สืบค้นเมื่อ 28 กุมภาพันธ์ 2560, จาก https://www.sms-stou.org/archives/953?lang=th.

ปิยนันท์ สวัสดิ์ศฤงฆาร. (2559). แนวโน้มการใช้ IT และการพัฒนาเทคโนโลยี. สืบค้นเมื่อ 10 กุมภาพันธ์ 2560, จาก https://hrd-km.blogspot.com/p/1.html

ปิยนันท์ สวัสดิ์ศฤงฆาร. (2556). แนวโน้มผลกระทบของคอมพิวเตอร์กับการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์. สืบค้นเมื่อ 2 กุมภาพันธ์ 2560, จาก https://www.hrtraining.co.th/article

ปิยนันท์ สวัสดิ์ศฤงฆาร. (2552). นวัตกรรมและการใช้ IT ในการจัดการความรู้เพื่อการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ สืบค้นเมื่อ 3 มีนาคม 2560, จาก https://oknation.nationtv.tv/ blog/piyanan

ปรัชญา ชุมนาเสียว. (2549). รูปแบบกลยุทธ์การจัดการองค์การแห่งการเรียนรู้เพื่อการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีในสถาบันอุดมศึกษาของรัฐ (ปรัชญานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต). มหาวิทยาลัยรามคำแหง. กรุงเทพฯ

สนั่น เถาชารี. (2559). การสร้างนวัตกรรมใหม่ โดยอาศัยการบริหารทรัพยากรมนุษย์ สืบค้นเมื่อ 1 มีนาคม 2560, จาก https://www.tpa.or.th/writer/read_this_book_topic.

สมชาย รัตนคช (2559) การพัฒนาองค์การแห่งการเรียนรู้ของสถาบันอุดมศึกษา วารสารวิทยบริการมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 27(1), 144-150

Ar, Ilker Murat; Birdogan Baki. (2011). Antecedents and performance impacts of product versus process innovation. European Journal of Innovation Management, 14(2), 172-206.

Leif Edvinsson. (1997). Developing Intellectual Capital at Skandia Elsevier Science Ltd. All rights reserved Printed in Great Britain.

Marquardt, M. J. (1996). Building the learning organization: A systems approach to quantum improvement and global success. NY: McGraw-Hill.

Marquardt, M. J., & Reynolds, A. (1994). The global learning organization. NY: Irwin.

Pedler, B., & Boydell, T. (1988). Success factors in learning organizations: An empirical study. Retrieved from www.ingentaconnect.com/

Peter Drucker. (1985). INNOVATION AND ENTREPRENEURSHIP Practice and Principles.

Porter, M. E. (1990). The Competitive Advantage of Nations. NY: Free Press.

___________. (2002). Building the learning organization Mastering the 5 elements for corporate learning. Palo Alto, CA: Prentice-Hall.

Nonaka, Takeuchi (1995). SECI Model (Online). Retrieved from https://welcome2km.blogspot.com/p/seci-model-nonaka-takeuchi1995-tacit.html.