อิทธิพลของความมีอิสระในการทำงานกับบุคลิกภาพด้านเปิดรับประสบการณ์และบุคลิกภาพด้านสำนึกในหน้าที่และการรับรู้ความสามารถของตนเองที่มีต่อประสิทธิผลการทำงานของอาจารย์มหาวิทยาลัยในจังหวัดชุมพร

Main Article Content

ฉันทวรรณ เอ้งฉ้วน
วิโรจน์ เจษฎาลักษณ์

บทคัดย่อ

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ 1.เพื่อศึกษาอิทธิพลของความมีอิสระในการทำงานต่อประสิทธิผลการทำงานของอาจารย์มหาวิทยาลัยในจังหวัดชุมพร 2.เพื่อศึกษาอิทธิพลของการรับรู้ความสามารถของตนเองกับประสิทธิผลการทำงานของอาจารย์มหาวิทยาลัยในจังหวัดชุมพร 3.เพื่อศึกษาอิทธิพลของบุคลิกภาพด้านเปิดรับประสบการณ์และบุคลิกภาพด้านสำนึกในหน้าที่ต่ออิทธิพลของความมีอิสระในการทำงานต่อการรับรู้ความสามารถของตนเอง การวิจัยครั้งนี้ใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงปริมาณ โดยใช้แบบสอบถามกับประชากรทั้งหมด คือ อาจารย์มหาวิทยาลัยในจังหวัดชุมพร จำนวน 111 คน แล้วนำข้อมูลมาวิเคราะห์อิทธิพลของตัวแปรด้วยการวิเคราะห์ถดถอยเชิงพหุ ผลการวิจัยพบว่า ความมีอิสระในการทำงานมีอิทธิพลทางบวกกับประสิทธิผลการทำงาน อีกทั้งการรับรู้ความสามารถของตนเองมีอิทธิพลเชิงบวกกับประสิทธิผลการทำงานเช่นกัน สำหรับการทดสอบตัวแปรกำกับ พบว่า บุคลิกภาพด้านเปิดรับประสบการณ์และบุคลิกภาพด้านสำนึกในหน้าที่เป็นตัวแปรแทรกที่มีอิทธิพลทางบวกต่อความสัมพันธ์ระหว่างความมีอิสระในการทำงาน และการรับรู้ความสามารถของตนเองอีกด้วย

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

ชาญชัย จิตติพันธ์พรณี. (2554). ตัวแปรกำกับของความเป็นอิสระในการทำงานและการสนับสนุนของ ผู้บังคับบัญชาและตัวแปรสื่อของความเชื่อมั่นในการขยายบทบาทของตนในความสัมพันธ์ระหว่างบุคลิกภาพเชิงรุกและพฤติกรรมเชิงรุก. งานวิจัยส่วนบุคคล สาขาวิชาจิตวิทยาอุตสาหกรรมและองค์การ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

พีรยา เชาวลิตวงศ์. (2554). ความสัมพันธ์ระหว่างบุคลิกภาพห้าองค์ประกอบ การรับรู้ความสามารถของตนเอง และพฤติกรรมความปลอดภัยในการทำงาน : กรณีศึกษาพนักงานฝ่ายช่างสายการบินแห่งหนึ่ง. งานวิจัยส่วนบุคคล สาขาวิชาจิตวิทยาอุตสาหกรรมและองค์การ คณะศิลปศาสตร์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

พรทิพย์ วิศาลสุวรรณกร. (2546). ความสัมพันธ์ระหว่างบุคลิกภาพ การรับรู้ความสามารถของตนเอง ปัจจัยส่วนบุคคล และความผูกใจมั่นต่อการเปลี่ยนแปลง. วิทยานิพนธ์ ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาจิตวิทยาอุตสาหกรรมและองค์การ คณะจิตวิทยา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

มาลินี คำเครือ. (2554). คุณภาพชีวิตการทำงานของอาจารย์มหาวิทยาลัยในกรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์ วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต คณะสถิติประยุกต์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.

Bandura, A. (1986). Social foundations of thought and action. New Jersey: Prentice Hall.Campion, M.A. (1988). Interdisciplinary approaches to job design: A constructive replication with extensions. Journal of Applied Psychology, 73, 467-481.

Chung, K. (1977). Motivational Theories and Practices. Columbus, OH: Grid Publishing.

Dee, J., Henkin, A., & Chen, J. (2000). Faculty autonomy: Perspectives from Taiwan. Higher Education, 40, 203- 216. http://dx.doi.org/10.1023/A:1004009703603

Dworkin, G. (1988). The theory and practice of autonomy. New York: Cambridge

Gagne´, M., & Deci, E. L. (2005). Self-determination theory and work motivation. Journal of Organizational Behavior.

Grissom. (1994). Quoted in Porter, Bigley and Steer, 2003, p.131

Gecas, Viktor and Michael Schwalbe. (1983). Beyond the Looking-Glass Self: Social Structure and Efficacy Based Self-Esteem. Social Psychology Quarterly, 46:77-88.

Gellatly, I. R., & Irving, P. G. (2001). Personality, autonomy, and contextual performance of managers.Human Performance, 14, 229-243.http://dx.doi.org/10.1207/S15327043HUP1403_2

Judge, T. A., Jackson, C. L., Shaw, J. C., Scott, B. A., & Rich, B. L. (2007). Self-Efficacy and Work- Related Performance: The Integral Role of Individual Differences. Journal of Applied Psychology, 92,
107-127.Judge TA1, Jackson CL, Shaw JC, Scott BA, Rich BL.

Hackman, J, R., & Oldham, G. R. (1975). Development of the job diagnostic survey. Journal of Applied Psychology, 60, 159-170.

Howard, P. J. & Howard, J.M. 2000. The big five quickstart: An introduction to the Five-Factor Model of personality for Human Resource Professionals. Retrieved April 6, 2004, from World Wild

Morgeson, F. P. & Humphrey. S. E. (2006). The work design questionnaire (WDQ) Developing and validating a comprehensive measure for assessing job design and the nature of work. Journal of Applied Phychology, 91, 1321-1339.

Nicholson, N. (1984). A theory of work role transitions. Administrative Science Quarterly, 29, 172-191. http://dx.doi.org/10.2307/2393172

Ozturk, H., Bahcecik, N., & Baumann, S. L. (2006). Nursing satisfaction and job enrichment in Turkey. Nursing Science Quarterly, 19(4), 360-365

Parker, S. K. (1998). Enhancing role breadth self-efficacy: The roles of job enrichment and other organizational interventions. Journal of Applied Psychology, 83(6), 835-852.

Raza Naqvi, Maria Ishtiaq, Nousheen Kanwal, Mohsin Ali (2013). Impact of Job Autonomy on Organizational Commitment and Job Satisfaction: The Moderating Role of Organizational Culture in Fast Food Sector
of Pakistan. International Journal of Business and Management.

Saragih, S. (2011). The Effects of Job Autonomy on Work Outcomes: Self Efficacy as an Intervening Variable. International Research Journal of Business Studies, 4(3), 203-215.

Steers, R.M. (1977). Organization Effectiveness. California: Goodyear Publishers Inc. (1991). Introduction to Organization Behavior. New York: Harper CollinPublishers Inc.

Wall, T. D., Jackson, P. R., & Davids, K. (1992). Operator work design and robotics system performance: A serendipitous field study. Journal of Applied Psychology, 77, 353-362.

Wall, T. D., Jackson, P. R., & Mullarkey, S. (1995). Further evidence on some new measures of job control, cognitive demand and production responsibility. Journal of Organizational Behavior, 16, 431- 455.