การวิพากษ์นโยบาย ‘บัตรสวัสดิการแห่งรัฐ’ ภายใต้กรอบของวงจรนโยบายสาธารณะ

Main Article Content

ปติมา น้อยกูต

บทคัดย่อ

ปัญหาความเหลื่อมล้ำในสังคมไทยที่ทวีความรุนแรงมากยิ่งขึ้นเป็นแรงกดดันให้รัฐบาลต้องตระหนักในการกำหนดแนวทางการแก้ไขปัญหาอย่างต่อเนื่อง โดยนโยบายบัตรสวัสดิการแห่งรัฐถือเป็นหนึ่งในความพยายามของรัฐบาลในการแก้ไขปัญหาความยากจนและลดความเหลื่อมล้ำในสังคมไทย บทความนี้ผู้เขียนมีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอการวิพากษ์นโยบายบัตรสวัสดิการแห่งรัฐ โดยเนื้อหาในบทความประกอบด้วยการอธิบายความเป็นมาและสาระสำคัญของนโยบาย การวิพากษ์นโยบายภายใต้กรอบของวงจรนโยบายสาธารณะเพื่ออธิบายความซับซ้อน รวมถึงสาเหตุและผลกระทบในสามกระบวนการหลักๆ ของนโยบายสาธารณะ กระบวนการแรกคือการกำหนดนโยบาย (Policy Formation/Decision-Making) กระบวนการที่สองคือการนำนโยบายไปปฏิบัติ (Policy Implementation) และกระบวนการที่สามคือการประเมินผลนโยบาย (Policy Evaluation) ทั้งนี้ ผู้เขียนได้สรุปจุดเด่นจุดด้อยของนโยบาย และข้อเสนอแนะเพื่อการปรับปรุงทิศทางของนโยบายในอนาคตไว้ในส่วนท้ายของบทความ

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

กระทรวงการคลัง. (2559). รายงานผลโครงการลงทะเบียนเพื่อสวัสดิการแห่งรัฐ ปี 2559 และโครงการ

ลงทะเบียนเพื่อสวัสดิการแห่งรัฐ ปี 2560. ข่าวกระทรวงการคลังฉบับที่ 18/2560, กลุ่มสารนิเทศการคลัง สำนักงานปลัดกระทรวงการคลัง. สืบค้นเมื่อ 9 กันยายน 2562 จาก http://www2.fpo.go.th

. (2560). โครงการลงทะเบียนเพื่อสวัสดิการแห่งรัฐ: รายงานผลการดําเนินงานตามนโยบาย

รัฐบาลและการสั่งการของนายกรัฐมนตรีพลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี, ระหว่างวันที่ 12 กันยายน 2559 – 30 กันยายน 2560, สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร.

. (2560). คู่มือการปฏิบัติงานตามมาตรการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้มีบัตรสวัสดิการแห่งรัฐ,

สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง กระทรวงการคลัง.

. (2562). มาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจ ปี 2562. ข่าวกระทรวงการคลังฉบับที่ 85/2562, กลุ่มสารนิเทศ

การคลัง สำนักงานปลัดกระทรวงการคลัง. สืบค้นเมื่อ 9 กันยายน 2562 จาก https://www.mof.go.th

กรมบัญชีกลาง. (2560). คู่มือประชารัฐสวัสดิการ การให้ความช่วยเหลือผ่านบัตรสวัสดิการแห่งรัฐ.

. (2562). กรมบัญชีกลางรายงานผลการใช้จ่ายเงินโครงการบัตรสวัสดิการแห่งรัฐ. ข่าว

กรมบัญชีกลาง ฉบับที่ 43/2562, กลุ่มงานประชาสัมพันธ์ สำนักงานเลขานุการกรม. สืบค้นเมื่อ 13 กันยายน 2562 จาก https://www.cgd.go.th

ศุภชัย ยาวะประภาษ. (2533). นโยบายสาธารณะ. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร. (2562). การแจกบัตรสวัสดิการแห่งรัฐเปรียบเทียบกับโครงการบัตรบอล

ซ่า แฟมิเลีย. กลุ่มงานบริการวิชาการ สำนักวิชาการ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร. สืบค้นเมื่อ 12 กันยายน 2562 จากhttps://library2.parliament.go.th

สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2560). รายงานการวิเคราะห์สถานการณ์ความยากจน

และความเหลื่อมล้ำในประเทศไทย ปี 2560. สืบค้นเมื่อ 10 กันยายน 2562 จาก http://social.nesdb.go.th

. (2562). รายงานภาวะสังคมไทยไตรมาสสอง ปี 2562. สืบค้นเมื่อ 10 กันยายน 2562

จาก http://social.nesdb.go.th

Dye, T. R. (2005). Chapter 1: Policy Analysis. The thinking man’s response to demands for relevance.

Understanding Public Policy. New Jersey: Pearson Education.

Hood, C. C. (1976). The limits of administration. London: Wiley.

Lindblom, C. E. (2007). The Science of ‘Muddling Through’, in Shafritz, Jay M. & Hyde, Albert C. Classics

of Public Administration. Wadsworth: Cengage Learning.

Pressman, J. & Wildavsky, A. (2007). Aaron ‘Implementation’, in Shafritz, Jay M. & Hyde, Albert C. Classics

of Public Administration. Wadsworth: Cengage Learning.

Simon, H. A. (1977). The logic of heuristic decision-making, in R. S. Cohen and M. W. Wartofsky, eds.,

Models of Discovery. Boston: D. Reidel.

Weiss, C. H. (1973). The Politics of Impact Measurement. Policy Studies Journal, 1(3), 179-83.