การประยุกต์ใช้เศรษฐศาสตร์พฤติกรรมการสะกิดในการปรับพฤติกรรมการนอน

Main Article Content

Thanasorn Lipisunthorn
Thachanun Phintong
Thanrada Konkeaw

บทคัดย่อ

งานวิจัยฉบับนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพฤติกรรมการนอนหลับ และศึกษาวิธีการสะกิด (Nudge) ที่มีประสิทธิภาพต่อพฤติกรรมการนอนของกลุ่มผู้เข้าร่วมทดลอง รวมทั้งวิเคราะห์ปัจจัยที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการนอนหลับ เพื่อป้องกันปัญหาสุขภาพจากการนอนหลับพักผ่อนที่ไม่เพียงพอ และส่งเสริมการนอนหลับที่เพียงพอต่อความเหมาะสมของช่วงอายุ โดยใช้กลุ่มตัวอย่างจำนวนทั้งสิ้น 30 คน แบ่งเป็นกลุ่มละ 10 คน จำนวน 3 กลุ่ม และทำการศึกษาจากการเก็บรวบรวมข้อมูลจำนวนชั่วโมงการนอนของกลุ่มผู้เข้าร่วมการทดลองเป็นเวลา 5 วัน และผ่านการทำแบบสอบถามเกี่ยวกับพฤติกรรมการนอน จากผลการศึกษาพบว่า เพศหญิงมีจำนวนเพศหญิงมีจำนวน  ชั่วโมงการนอนไม่เพียงพอมากกว่าเพศอื่น ๆ  และกลุ่มการทดลองที่ใช้วิธีสะกิดที่มีประสิทธิภาพมากที่สุด คือ กลุ่มที่มีการให้ข้อมูลค่าเฉลี่ยชั่วโมงการนอนที่สูงกว่าความเป็นจริงของกลุ่มทดลองอีกกลุ่ม  ส่วนปัจจัยที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการนอนหลับอย่างมีนัยสำคัญพบว่ามี 4 ปัจจัย ได้แก่ เพศ รายได้ต่อเดือน  สิ่งแวดล้อมในการนอนหลับเมื่อมีการนอนหลับในห้องที่มีอากาศถ่ายเทสะดวกหรือห้องที่มีอากาศเย็นสบาย และ สิ่งแวดล้อมในการนอนหลับเมื่อมีการนอนหลับในห้องที่มืด ปราศจากแสงสว่างรบกวน

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

Angrist, J. D. (2014). The perils of peer effects. Labour Economics, 30, 98-108.

Kahneman, D. (1979). Prospect theory: An analysis of decisions under risk. Econometrica, 47, 278.

Thaler, R. H. (2018). Nudge, not sludge. Science, 361(6401), 431-431.

กุลธิดา แป้นพะยอม. 2564. 8โรคอาการเสี่ยง เมื่อคุณพักผ่อนไม่เพียงพอ. [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา

https://www.naturebiotec.com/8danger-sleepless2021/. (7 พฤศจิกายน 2565)

จีรภา กาญจนโกเมศ และพรสวรง วงศ์สวัสดิ์. (ม.ป.ป.). คุณภาพการนอนหลับและปัจจัยที่เกี่ยวข้องของนักศึกษามหาวิทยาลัยแห่งหนึ่ง. [ระบบออนไลน์].

แหล่งที่มา https://he01.tci-thaijo.org/index.php/nah/article/download/192207/165511/852352. (7 พฤศจิกายน 2565)

ตุ๊กโกะ ณธิดา. (2562). คนไทยงานเยอะ นอนน้อย เฉลี่ยคืนละ 6ชม. ยอมสละเวลานอนเพื่องาน เผื่อช่วยให้ชีวิตก้าวหน้าขึ้น. [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา

https://www.marketingoops.com/campaigns/local-campaigns/onemorehour-aia/. (7 พฤศจิกายน 2565)

ภาวรรณ ธนาเลิศสมบูรณ์. (2561). สังคมนอนน้อยในมิติเศรษฐกิจ กับเทรนด์ธุรกิจเปิด 24ชั่วโมง. [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา

https://www.the101.world/sleepless_econ/. (7 พฤศจิกายน 2565)

วิทมา ธรรมเจริญ, นิทัศนีย์ เจริญงาม, ญาดาพา โชติดิลกและนิตยา ทองหนูนุ้ย. (2564). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อคุณภาพการนอนหลับของผู้สูงอายุ.

[ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา https://so05.tci-thaijo.org/index.php/sjss/article/view/250683/174277. (7 พฤศจิกายน 2565)

วรวัฒน์ สุวรรณรักษ์. (ม.ป.ป.). เคล็ดลับนอนหลับอย่างมีสุขและสุขภาพดี. [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา

https://www.nksleepcenter.com/tricks-to-healthy-sleep/. (7 พฤศจิกายน 2565)

อรจิรา แสงสมี. (ม.ป.ป.). คุณภาพการนอนของพนักงานบริษัทซีพีเอฟฟู้ดแอนด์เบฟเวอร์เรจ จากัด สาขาหนองจอก. [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา

https://mmm.ru.ac.th/MMM/IS/vlt15-1/6114993699.pdf. (7 พฤศจิกายน 2565)

อรวรรณ์ มุงวงษา. (2557). พฤติกรรมสุขภาพ. [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา

https://nurse.pbru.ac.th/th/wp- . (7 พฤศจิกายน 2565)