ผลกระทบและการปรับตัวจากการทดแทนแรงงานมนุษย์ด้วยหุ่นยนต์: กรณีศูนย์กระจายสินค้าบริษัทเอกชนแห่งหนึ่งในจังหวัดชลบุรี

Main Article Content

เมย์ ชีพอุบัติ
ภูดินันท์ อดิทิพยางกูร
พัชรี ผาสุข

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลกระทบของการใช้หุ่นยนต์แทนแรงงานมนุษย์ในกระบวนการจัดสินค้า และศึกษาแนวทางการปรับตัวของแรงงานจากการทดแทนด้วยหุ่นยนต์ของศูนย์กระจายสินค้า โดยทำการเก็บรวบรวมข้อมูลด้วยแบบสอบถามจากกลุ่มพนักงานประจำแผนกจัดสินค้าในศูนย์กระจายสินค้าจำนวน 140 ราย ด้วยวิธีการสุ่มอย่างง่าย วิเคราะห์ข้อมูลสถิติเชิงพรรณนา สถิติเชิงอนุมานโดยการวิเคราะห์องประกอบเชิงยืนยัน และการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงสำรวจ จากการศึกษาพบว่าผลกระทบของการใช้หุ่นยนต์ทดแทนแรงงานมนุษย์ในกระบวนการจัดสินค้าที่มีอิทธิพลสูงที่สุด คือ ผลกระทบทางด้านรายได้ ซึ่งส่งผลทำให้รายได้และสภาพคล่องทางการเงินของครัวเรือนลดลง รองลงมาคือผลกระทบด้านสังคมโดยทำให้มีการว่างงานที่เพิ่มขึ้น สำหรับการปรับตัวของแรงงานมีการสะท้อนพฤติกรรมใน 2 ลักษณะ คือ 1) การปรับตัวให้สามารถทำงานร่วมกับหุ่นยนต์ โดยการพัฒนาตนเองให้มีความสามารถในการทำงานกับหุ่นยนต์ให้มีประสิทธิภาพร่วมกับการหารายได้เสริมเพื่อชดเชยส่วนที่ขาดไป 2) การปรับตัวโดยเปลี่ยนอาชีพไปยังอาชีพที่หุ่นยนต์ไม่สามารถทดแทนได้ โดยการหาโอกาสและช่องทางไปทำงานในต่างประเทศ

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

คำนาย อภิปรัชญาสกุล และ กัญญามน กาญจนาทวีกูล. (2562). แนวทางการพัฒนาตัวชี้วัดศักยภาพของผู้ให้บริการโลจิสติกส์ไทย เพื่อรองรับอุตสาหกรรม 4.0.

วารสารสันติศึกษาปริทรรศน์ มจร, 7(5), 1447-1459.

ดนัย เทียนพุฒ. (2537). กลยุทธ์การพัฒนาคน: สิ่งท้าทายความสำเร็จของธุรกิจ. สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย: กรุงเทพฯ

ธงชัย ชลศิริพงษ์ (2560). เมื่อหุ่นยนต์มา แรงงานทักษะต่ำไม่ได้น่าห่วงที่สุด ที่จริงคือคนกลางๆ ต่างหาก. สืบค้นเมื่อ 16 กุมภาพันธ์ 2566.

จาก https://brandinside.asia/robot-middle-skill-job/

บังอร โสฬส. (2538). การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์: ความเป็นมาและกระบวนการที่ควรจะเป็น. วารสารพัฒนาบริหารศาสตร์, 5(1), 67-86.

พัชรพร ลีพิพัฒน์ไพบูลย์ และ นันทนิตย์ ทองศรี. (2561). หุ่นยนต์ในภาคอุตสาหกรรม: กระแสใหม่ที่แรงงานต้องกังวลจริงหรือ?. สืบค้นเมื่อ 19 กันยายน 2565,

จาก https://www.bot.or.th/th/research-and-publications/articles-and-publications/articles/Article_15Aug2017.html

มานิตย์ ผิวขาว. (2557). รายวิชาเศรษฐศาสตร์แรงงาน. สืบค้นเมื่อ 16 กุมภาพันธ์ 2566. จาก https://www.slideserve.com/demont/5

ยงยุทธ แฉล้มวงษ์. (2563). แรงงานไทยในทศวรรษหน้า อยู่อย่างไรให้รอด. สืบค้นเมื่อ 10 กุมภาพันธ์ 2566.

จาก https://www.trebs.ac.th/th/news_detail.php?nid=119

สายธาร อุทกนิมิต. (2561). ทำไมต้อง Thailand 4.0. สืบค้นเมื่อ 19 กันยายน 2565. จาก https://www.thailandplus.tv/archives/10710

Acemoglu, D., & Pascual, R. (2018). The Race between Man and Machine: Implications of Technology for Growth, Factor Shares,

and Employment. American Economic, 108(6), 1488-1542.

Acemoglu, D., & Restrepo, P. (2017). Robots and Jobs: Evidence from US Labor Markets. National Bureau of Economic Research,

NBER Working Paper No. 23285, http://www.nber.org/papers/w23285

Bartlett, M. S. (1937). Properties of sufficiency and statistical tests. Proceedings of the Royal Society of London. Series A-Mathematical

and Physical Sciences, 160(901), 268-282.

BLOG.SCGLogistics. (2563). 4 ตัวอย่างของการใช้หุ่นยนต์แทนคนในคลังสินค้า. สืบค้นเมื่อ 19 กันยายน 2565,

จาก https://www.scglogistics.co.th/th/4-ตัวอย่างของการใช้หุ่นยนต์/

Bollen, K. A. (1989). Structural Equations with Latent Variables. New York: Wiley.

Carbonero, F., & Ernst, E., & Weber, E. (2018). Robots worldwide: The impact of automation on employment and trade.

Research Department Working Paper No. 36, JEL classification: J23; O33; F16.

Cronbach, Lee J. (1951). Coefficient alpha and the internal structure of tests. Psychometrika. 16 (3): 297–334

Dauth, W., & Findeisen, S., & Südekum, J., & Woessner, N. (2017) German Robots - The Impact of Industrial Robots on Workers.

IAB Discussion Paper, 2017(30), 1-63.

Ebel, K.-H. (1987). Robotics: The impact of industrial robots on the world of work. Science Direct, 3(1), 65-72.

Eker, B. A. (2018). The Impact of The Use of Industrial Robots on Efficiency Increase. 3rd International Conference on Quality of Life,

(pp. 35-38). Serbia: University of Kragujevac.

Hu, L. T., & Bentler, P. M. (2009). Cut-off Criteria for Fit Indexes in Covariance Structure Analysis: Conventional Criteria Versus New

Alternative. Structural Equation Modelling, 6(1), 1-55.

Joreskog, K. D., & Sorbom, D. (1989). LISREL 7: User’s Reference Guide. Chicago: Scientific Software International.

Kaiser, M. O. (1974). Kaiser-Meyer-Olkin measure for identity correlation matrix. Journal of the Royal Statistical Society, 52(1), 296-298.

Qureshi, M. O., & Syed, R. S. (2014). Safety and Health at Work: The Impact of Robotics on Employment and Motivation of Employees

in the Service Sector, with Special Reference to Health Care. Science Direct, 5(4), 198-202.

Universal Robots (2564). 6 ตัวอย่างหุ่นยนต์อุตสาหกรรมในอุตสาหกรรมยานยนต์. สืบค้นเมื่อ 19 กันยายน 2565,

จาก https://www.universal-robots.com/th/blog