เศรษฐศาสตร์กับการสะกิดพฤติกรรม สะกิดความคิด ใกล้สอบนี้ฉันจะไม่ไปดื่ม

Main Article Content

ภัคจิรา ธรรมสารวรกิจ
บุณยาพร ทรงอินทร์
สุกฤตา ธีราโมกข์
หทัยลักขณ์ พูลเพียร
ชฎาการณ์ รุ่งสว่าง
ชุติกาญจน์ แสงมณี
สุทัตตา แซ่อึ้ง
อากิโกะ ยามาดะ

บทคัดย่อ

การดื่มแอลกอฮอล์เป็นปัจจัยสำคัญที่ส่งผลกระทบเชิงลบต่อด้านสุขภาพ การดำเนินชีวิตประจำวัน     การทำงาน และรวมไปถึงด้านการเรียน อย่างไรก็ตาม คนส่วนใหญ่มีแนวโน้มตัดสินใจเลือกดื่มแอลกอฮอล์แม้ว่าจะทราบถึงโทษของการดื่มแอลกอฮอล์ ซึ่งสอดคล้องกับทฤษฎีทางเศรษฐศาสตร์พฤติกรรมที่มนุษย์มักตัดสินใจโดยคำนึงถึงความพึงพอใจในปัจจุบันและไม่คำนึงถึงผลกระทบเชิงลบในอนาคต งานวิจัยฉบับนี้จึงมุ่งเน้นศึกษาผลกระทบของการดื่มแอลกอฮอล์ต่อผลการเรียนและปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อพฤติกรรมการดื่มแอลกอฮอล์ของนิสิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ จำนวน 250 คน นอกจากนี้ยังศึกษาแนวทางการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของ    ผู้ทดลองให้ไม่ไปดื่มแอลกอฮอล์ในช่วงใกล้สอบ จำนวน 29 คน จากผลการศึกษาพบว่าวิธีการสะกิดที่มีประสิทธิภาพมากที่สุด คือ การกระตุ้นด้วยความกลัวการสูญเสีย (Loss Aversion) และจากการลงพื้นที่เก็บแบบสอบถาม พบว่า ปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อพฤติกรรมการดื่มแอลกอฮอล์ของนิสิต ได้แก่ สถานภาพ ความถี่    ในการดื่ม ความรู้สึกหลังดื่ม และปริมาณการดื่ม ในส่วนของปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อผลการเรียนของนิสิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ได้แก่ อายุและทัศนคติต่อการดื่มแอลกอฮอล์ รวมถึงพบว่าการดื่มแอลกอฮอล์  เป็นประจำไม่ส่งผลกระทบต่อผลการเรียนของนิสิต อย่างไรก็ตาม ปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อผลการเรียนของนิสิต   ที่ดื่มแอลกอฮอล์ ได้แก่ รายได้และทัศนคติต่อการดื่มแอลกอฮอล์

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

ณวิสาร์ จุลเพชร และบุญนิภา เกี้ยวม่าน. (2560). ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์‍ของ‍นักศึกษา‍มหาวิทยาลัย‍ราช‍ภัฏ‍

นครศรีธรรมราช. ‍ มหาวิทยาลัย‍ราช‌‍ภัฏ‍นครศรีธรรม‍ราช. ‍สืบค้น‍จาก‍‍‍‍‍‍ ‍https://dspace.bru.ac.th/xmlui/bitstream/handle/123456789/3915/‍

ณวิ‍สาร์%‍20%20‍จุล‍เพชร‍1%20‍บุญ‍นิภา%‍20%20‍เกี้ยว‍ม่าน‍2.pdf?sequence=1&isAllowed=y

ดนัย วงค์นาง. (2558). ทัศนคติการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตร วิชาชีพชั้นสุง วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่.

วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่. สืบค้นจาก 20180904_090408.pdf (lannapoly.ac.th)

ประไพรัตน์ คาวินวิทย์. (2554). ปัจจัยที่สัมพันธ์กับปริมาณการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ของนิสิตปริญญาตรีมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. คณะเศรษฐศาสตร์

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. สืบค้นจาก https://ir.swu.ac.th/jspui/bitstream/123456789/563/1/Prapairat_K.pdf

ปรางค์ทิพย์ ‍อุจะรัตน์ ‍สุคนธ์ ‍ไข่แก้ว ‍วัฒนา ‍พันธุ์ศักดิ์ ‍และ‍‍สุธีรา ‍ฮุ่นตระกูล. ‍(2554). ‍‌‍‍‍พฤติกรรมการดื่มเครื่‍‍‍‍‌‏‍‍องดื่‍มแอลกอฮอล์ของคนไทยเขตเมือง :กรณีศึกษา

ชุมชนบ้านบุ เขตบางกอกน้อย กรุงเทพมหานคร. ‍‏‍มหาวิทยาลัยมหิดล. ‍สืบค้น‍จาก‍‍‍ ‍

https://ns.mahidol.ac.th/english/journal_NS/pdf/vol29/issue1/Prangtip.pdf

รัตติยา บัวสอน และเชษฐ รัชดาพรรณาธิกุล. (2555). พฤติกรรมการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ของนักศึกษามหาวิทยาลัยระดับปริญญาตรีในเขต

กรุงเทพมหานคร. คณะศิลปะศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล. ‍สืบค้น‍จาก ‍

https://he02.tci-‍thaijo.org/index.php/RNJ/article/download/8981/7638/18303

ไพรัตน์ อ้นอินทร์. (2552). พฤติกรรมการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ของวัยรุ่นที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพและครอบครัว ‍.‍ศูนย์วิจัย‍ปัญหา‍สุรา.‍สืบค้น‍จาก ‍

https://cas.or.th/wp-‍content/uploads/2022/06/51-012-พฤติกรรมการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ของวัยรุ่นที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพและ

ครอบครัว-1-1.pdf

ศูนย์วิจัยปัญหาสุรา. (2561). ต้นทุนทางเศรษฐศาสตร์ของผลกระทบจากการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ที่มีต่อครัวเรือนในประเทศไทย. สืบค้นจาก

https://cas.or.th/wp-content/uploads/2019/07/69.61-A1-0007-ต้นทุนเศรษฐศาสตร์-1.pdf

สํานักงานสถิติแห่งชาติ. (2564). การสํารวจพฤติกรรมด้านสุขภาพของประชากร. สืบค้นจาก

http://www.nso.go.th/sites/2014/DocLib13/ด้านสังคม/สาขาสุขภาพ/สํารวจพฤติกรรมด้านสุขภาพของประชากร/2564/report_2501_64.pdf

Angrist , J . (2013). The Perils of Peer Effects. Retrieved from The perils of peer effects - ScienceDirect

Blum , T . C ., Roman , P. M., & Martin , J . K. . (2015). Alcohol Consumption and Work Performance. Retrieved from

https://www.researchgate.net/profile/Paul-‍‍‍‍Roman/publication/ 14842803_Alcohol_consumption_and_work_performance/ links/

c069308aed543358d1abe/Alcohol-consumption-and-work-performance.pdf?origin=publication_detail

Cabalatungan , S . (2001). The Consequences of Alcohol Consumption for Drinking and Non-‍drinking ‍Students. ‍University ‍of ‍California. ‍

Retrieved from ‍‍https://sociology.ucdavis.edu/images/ShaddCabalatunganConsequencesofAlcoholConsumptionforDrinkingand

NonDrinkingStudents.pdf

Green , L . W., & Kreuter , M . W. (1999). Health Promotion Planning: An Educational and Ecological Approach (3rd ed). Retrieved from

Health Promotion Planning: An Educational and Ecological Approach (3rd ed) - PMC (nih.gov)

Kahneman , D . (2011). Thinking, fast and slow. Farrar, Straus and Giroux.

Kersbergen , I. (2018). Reducing the Standard Serving Size of Alcoholic Beverages Prompts Reductions in Alcohol Consumption.

Retrieved from Reducing the standard serving size of alcoholic beverages prompts reductions in alcohol consumption -

Kersbergen - 2018 - Addiction - Wiley Online Library

Loewenstein, G ., O'Donoghue, T ., & Rabin, M. (2003). Projection Bias in Predicting Future Utility. Retrieved from The Quarterly Journal

of Economics

Mandelíková , M . (2010). Identifying Factors Influencing Alcohol Consumption Among High School Student in the Czech. Retrieved

from https://ies.fsv.cuni.cz/default/file/download/id/13743

Onyebuchukwu , I . J ., Sholarin ,M . A ., Benedict , A, & Emerenwa , C. (2015). The Effect of Alcohol Consumption on the Academic

Performance of Undergraduate Students. Psychology and Behavioral Sciences. Retrieved from (PDF) The Effect of Alcohol

Consumption on the Academic Performance of Undergraduate Students (researchgate.net)

Perkins , H .W. , & Berkowitz , A . D. (1986). Perceiving the Community Norms of Alcohol Use Among Students. ‍Retrieved from

https:// www.researchgate.net/publication/19369252_Perceiving_the_Community_Norms_of_Alcohol_ Use_Among_Students_

Some_Research_Implications_for_Campus_Alcohol_Education_Programming

Thaler, R.H., & Sunstein, C. R. (2008). Nudge: Improving Decisions about Health, Wealth, and Happiness. New York: Penguin Books.

The Lancet Public Health. (2020). The role of alcohol use and drinking patterns in socioeconomic inequalities in mortality : a systematic

review. ‍Retrieved from The role of alcohol use and drinking patterns in socioeconomic inequalities in mortality: a systematic

review – The Lancet Public Health

Tversky, A , & Kehneman , D. (1979). Prospect Theory: An Analysis of Decition under Risk. Retrieved from Prospect Theory: An Analysis

of Decision under Risk on JSTOR