ผลของการจัดการเรียนรู้ด้วยคอมพิวเตอร์พกพาสนับสนุนการเรียนรู้ร่วมกันโดยใช้ปรากฏการณ์เป็นฐาน เพื่อส่งเสริมสมรรถนะทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียนเตรียมทหาร

ผู้แต่ง

  • โชษิตา เกตุทิพย์ คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
  • ประกอบ กรณีกิจ คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

คำสำคัญ:

คอมพิวเตอร์พกพาสนับสนุนการเรียนรู้ร่วมกัน, การเรียนโดยใช้ปรากฏการณ์เป็นฐาน, สมรรถนะทางวิทยาศาสตร์

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลการใช้รูปแบบการเรียนด้วยคอมพิวเตอร์พกพาสนับสนุนการเรียนรู้ร่วมกันโดยใช้ปรากฏการณ์เป็นฐาน เพื่อส่งเสริมสมรรถนะทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียนเตรียมทหาร ตัวอย่างการวิจัย คือ นักเรียนเตรียมทหารที่กําลังศึกษาอยู่ในระดับมัธยมศึกษา    ตอนปลาย โดยใช้การสุ่มตัวอย่างอย่างง่ายด้วยวิธีการจับสลาก จำนวน 33 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1) รูปแบบการเรียนด้วยคอมพิวเตอร์พกพาสนับสนุนการเรียนรู้ร่วมกันโดยใช้ปรากฏการณ์เป็นฐาน เพื่อส่งเสริมสมรรถนะทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียนเตรียมทหาร และ 2) แบบประเมินสมรรถนะทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียนเตรียมทหาร โดยมีระยะเวลาในการทดลอง 5 สัปดาห์ และวิเคราะห์ข้อมูลค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียวแบบวัดซ้ำ ผลการวิจัยพบว่า สมรรถนะทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียนเตรียมทหารจากการประเมินในครั้งที่ 1 ครั้งที่ 3 และ ครั้งที่ 5 มีความแตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05  

References

พิชญ์วดี กิตติปัญญางาม. (2564, 1 เมษายน). Phenomenon Based Learning: วิเคราะห์เป็น ชีวิตดี มีความสุข เปิดหลักสูตรการเรียนรู้แบบฟินแลนด์. http://iamkru.com/2021/04/01/phenomenon-based-learning-วิเคราะห์เป็น-ชีวิตด/

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2563). ความฉลาดรู้ด้านวิทยาศาสตร์. Pisathailand.

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2564). ผลการประเมิน PISA 2018 การอ่าน คณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์. http://drive.google.com/file/d/1YJPcpAk6FfQb9RP3FBumLvZIgDgOpTUo/view

Akkas, E., & Cevat, E. (2021). The effect of phenomenon-based learning approach on students metacognitive awareness. Educational Research and Reviews, 16(5), 181-188. https://doi.org/10.5897/ERR2021.4139

Albó, L., Hernández‐Leo, D., & Vanleer, O. (2019). Smartphones or laptops in the collaborative classroom? A study of video-based learning in higher education. Behaviour & Information Technology, 38(6), 637-649. https://doi.org/10.1080/0144929X.2018.1549596

Amini, S., & Sinaga, P. (2021). Inventory of scientific literacy ability of junior high school students based on the evaluation of PISA framework competency criteria. Journal of Physics: Conference Series, 1806(1). https://doi.org/10.1088/1742-6596/1806/1/012017

Bada, S. O., & Olusegun, S. (2015). Constructivism learning theory: A paradigm for teaching and learning. Journal of Research & Method in Education, 5(6), 66-70. https://doi.org/10.9790/7388-05616670

Bringula, R. P., & Atienza, F. A. L. (2023). Mobile computer-supported collaborative learning for mathematics: A scoping review. Education and Information Technologies, 28(5), 4893-4918. https://doi.org/10.1007/s10639-022-11395-9

OECD. (2019). PISA 2018 assessment and analytical framework. OECD Publishing.

Santhalia, P. W., & Yuliati, L. (2021). An exploration of scientific literacy on physics subjects within phenomenon-based experiential learning. Journal Penelitian Fisika dan Aplikasinya, 11, 72-82. https://doi.org/10.26740/jpfa.v11n1.p72-82

Santosa, E. (2020). The effects of mobile computer supported collaborative learning to improve problem solving achievements. Journal for the Education of Gifted Young Scientists, 8, 325-342. https://doi.org/10.17478/jegys.656642

Sinurat, C. D., Surtikanti, H. K., & Rustaman, N. (2021). Developing of electronic learning materials based on Simalungun potency of agriculture for improving student scientific literacy competencies in environmental context and awareness. Journal of Physics: Conference Series, 1806(1). https://doi.org/10.1088/1742-6596/1806/1/012162

Sung, Y. T., Yang, J. M., & Lee, H. Y. (2017). The effects of mobile-computer-supported collaborative learning: Meta-analysis and critical synthesis. Review of Educational Research, 87(4), 768-805. https://doi.org/10.3102/0034654317704307

Valanne, E., Al Dhaheri, R., Kylmalahti, R., & Sandholm-Rangell, H. (2017). Phenomenon based learning implemented in Abu Dhabi school model. International Journal of Humanities and Social Sciences, 9(3), 1-17. https://ijhss.net/index.php/ijhss/article/view/263

Villarroel, V., Boud, D., Bloxham, S., Bruna, D., & Bruna, C. (2020). Using principles of authentic assessment to redesign written examinations and tests. Innovations in Education and Teaching International, 57, 38-49. https://doi.org/10.1080/14703297.2018.1564882

Vygotsky, L. S. (1978). Mind in society: The development of higher psychological processes. Harvard University Press.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2024-08-18

How to Cite

เกตุทิพย์ โ. ., & กรณีกิจ ป. (2024). ผลของการจัดการเรียนรู้ด้วยคอมพิวเตอร์พกพาสนับสนุนการเรียนรู้ร่วมกันโดยใช้ปรากฏการณ์เป็นฐาน เพื่อส่งเสริมสมรรถนะทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียนเตรียมทหาร. วารสาร อีซีที เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา, 19(27), 33–45. สืบค้น จาก https://so01.tci-thaijo.org/index.php/ectstou/article/view/270701