Satisfaction of Chinese Major Students Toward Chinese Curriculum (New Curriculum 2012), the Faculty of Humanities and Social Sciences, RajabhatMahaSarakham University

Authors

  • ณิชาภา ยศุตมธาดา มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม
  • อดิเรก นวลศรี อาจารย์สาขาวิชาภาษาจีน คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม
  • อัญชนา ทองกระจาย อาจารย์สาขาวิชาภาษาจีน คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม

Keywords:

satisfaction, students, BA. in Chinese

Abstract

The purposes of the current study were to study and compare satisfaction levels of Chinese major students toward Chinese curriculum (New curriculum 2012), the Faculty of Humanities and Social Sciences, RajabhatMahaSarakham University. The target groupwas the 79 fourth year students studying in 2017 academic year selected by purposive sampling method. The research instrument was a set of questionnaire designed in 5 Likert Scales. Statistics used in data analysis and hypothetical testing were Percentage, Mean, Standard Deviation, t-test (Independent Samples) andF-test (One-way ANOVA). The results of the study were as follow: 1. The overall satisfaction level of the fourth year students studying in the curriculum was found
at high level, and all aspects of satisfaction were also found at high level. 2. There was a significant difference between the participants with different genders at the statistical level of .05 in the aspect of learning management. The other aspects and overall satisfaction were found with no significant difference. There were significant differences between students with different group of study at the statistical level of .05 in terms of overall satisfaction and five aspects including curriculum structure, learning management, content of curriculum, instructors, and assessment. Lastly, there was no significant different between the participants with different levels of GPA in overall and each aspect of satisfaction. Keywords : satisfaction, students, BA. in Chinese

References

เงาแข เดือดขุนทด. ความพึงพอใจของครูเกี่ยวกับการบริหารงานของผู้บริหารโรงเรียน สังกัดสำนักบริหารงานการศึกษา
พิเศษในภาคตะวันออก. วิทยานิพนธ์ ค.ม. กรุงเทพฯ :มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์, 2557.
ใจทิพย์ เชื้อรัตน์พงษ์. การพัฒนาหลักสูตร : หลักการและแนวปฏิบัติ. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ : อลีน เพรส,2552.
ธวัชชัย ชัยจิรฉายากุล. การพัฒนาหลักสูตรจากแนวคิดสู่การปฏิบัติ. พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุงเทพฯ : อักษรนักศึกษา,2560.
ธำรง บัวศรี. ทฤษฎีหลักสูตรการออกแบบและการพัฒนา. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว, 2552.
บุศยรัตน์ พันธ์เครือบุตร. การเปรียบความพึงพอใจของครูในโรงเรียนที่นำระบบคุณภาพมาตรฐานISO 9002 มาใช้ใน
การบริหารงาน กับโรงเรียนปกติ สังกัดกรมสามัญศึกษา.วิทยานิพนธ์ กศ.ม. ชลบุรี : มหาวิทยาลัยบูรพา, 2559.
ประจักษ์ โพธิ์วัด. ความพึงพอใจของครู นักเรียน และผู้ปกครองนักเรียนต่อการบริหารโรงเรียนตะคร้อวิทยา สังกัด
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษานครสวรรค์ เขต 3.วิทยานิพนธ์ ค.ม. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี,
2559.
ประทีป ชัยศรี. การเปรียบเทียบความพึงพอใจของครูต่อการบริหารสถานศึกษาของผู้บริหารโรงเรียนในสังกัดองค์การ
บริหารส่วนจังหวัด กลุ่มการศึกษาท้องถิ่นที่ 10. วิทยานิพนธ์ กศ.ม. มหาสารคาม : มหาวิทยาลัยมหาสารคาม,
2558.
ประยูร อาษานาม. การประเมินโครงการ. พิมพ์ครั้งที่ 3. ขอนแก่น : โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 2548.
เพิ่มศักดิ์ บัวส่อง. การประเมินความพึงพอใจที่มีต่อการจัดการเรียน ของนักศึกษาจากประเทศกัมพูชาที่ศึกษา
ในอาชีวศึกษาศรีสะเกษ. วิทยานิพนธ์ กศ.ม. มหาสารคาม : มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 2556
มนตรี อนันตรักษ์. การเปรียบเทียบสไตล์การเรียนและความสามารถทางพหุปัญญาของนิสิตระดับปริญญาตรี ชั้นปีที่ 2
คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. รายงานการวิจัย.มหาสารคาม : มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 2558.
วิจารณ์ พานิช. การจัดการความรู้ฉบับนักปฏิบัติ. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ : สถาบันส่งเสริมการจัดการความรู้เพื่อสังคม,
2556.
วิสิทธิ์ ฉัตรมงคล. ความพึงพอใจของผู้ปกครองนักเรียนที่มีต่อการจัดการศึกษาของโรงเรียนเมืองพัทยา 6 (วัดธรรม
สามัคคี). วิทยานิพนธ์ กศ.ม. ชลบุรี : มหาวิทยาลัยบูรพา,2557.
สมทรงกระจ่างศาสตร์. ความพึงพอใจของข้าราชการครูที่มีต่อผลสำเร็จอย่างสมดุลรอบด้านจากการบริหารจัดการ
ของโรงเรียนมัธยมศึกษาโครงการหนึ่งอำเภอหนึ่งโรงเรียนในฝันกรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์ค.ม.
พระนครศรีอยุธยา : มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร,2557.
สมบูรณ์ ตันยะ. การประเมินทางการศึกษา. นครราชสีมา : โครงการส่งเสริมการทำเอกสารประกอบการสอน ภาควิชา
ทดสอบและวิจัยการศึกษา คณะคุรุศาสตร์ สถาบันราชภัฎนครราชสีมา, 2557.
สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ. มาตรฐานการศึกษาของชาติ.กรุงเทพฯ : สหายบล็อก
และการพิมพ์, 2548.
อำนวยแกมนิล. ความพึงพอใจของผู้ปกครองนักเรียนที่มีต่อการจัดการศึกษาของโรงเรียนบ้านคลองสิบสามสังกัด
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาสระแก้วเขต 1. วิทยานิพนธ์กศ.ม. ชลบุรี :มหาวิทยาลัยบูรพา, 2550.

Downloads

Published

2019-05-31

How to Cite

ยศุตมธาดา ณ., นวลศรี อ., & ทองกระจาย อ. (2019). Satisfaction of Chinese Major Students Toward Chinese Curriculum (New Curriculum 2012), the Faculty of Humanities and Social Sciences, RajabhatMahaSarakham University. Chophayom Journal, 30(1), 13–24. Retrieved from https://so01.tci-thaijo.org/index.php/ejChophayom/article/view/123895

Issue

Section

บทความวิจัยทางด้านมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์