ปัจจัยการคงอยู่ของครูโรงเรียนเอกชน ตามความคิดเห็นของครู สังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสงขลา เขต2 จังหวัดสงขลา

ปัจจัยการคงอยู่ของครูโรงเรียนเอกชน ตามความคิดเห็นของครู สังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสงขลา เขต2 จังหวัดสงขลา

ผู้แต่ง

  • นิดา แก้วสว่าง สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาเอกชน

คำสำคัญ:

การคงอยู่ของครูโรงเรียนเอกชน

บทคัดย่อ

การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาปัจจัยการคงอยู่ของครูโรงเรียนเอกชนตามความคิดเห็น ของครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสงขลา เขต 2 จังหวัดสงขลา 2) เปรียบเทียบปัจจัยการคงอยู่ของครูโรงเรียนเอกชนตามความคิดเห็นของครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสงขลา เขต 2 จังหวัดสงขลา จำแนกตาม อายุ ประสบการณ์ทำงาน และขนาดของสถานศึกษา กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ครูที่ปฏิบัติการสอนในโรงเรียนเอกชน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสงขลา เขต 2 ปีการศึกษา 2559 จำนวน 327 คน กำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้นเจาะจงตามขนาดของสถานศึกษา โดยเปรียบเทียบจากตารางของเครจซี่และมอร์แกน (Krejcie and Morgan) แล้วใช้วิธีการสุ่มอย่างง่าย (Simple Random Sampling) โดยวิธีการจับสลาก  เครื่องมือการวิจัยเป็นแบบสอบถามความคิดเห็นชนิดมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ ได้ค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับ เท่ากับ .977 สถิติในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าความถี่ (Frequency) ค่าร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย (Mean) ค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน (SD) และการทดสอบค่าเอฟ (f-test)

            ผลการศึกษาพบว่า ปัจจัยการคงอยู่ของครูโรงเรียนเอกชนตามความคิดเห็นของครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสงขลา เขต 2 จังหวัดสงขลา โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก ผลการเปรียบเทียบพบว่า ครูที่มีอายุต่างกัน และครูที่มีประสบการณ์ทำงานต่างกัน มีความคิดเห็นต่อการคงอยู่ของครูโรงเรียนเอกชนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสงขลา เขต 2 จังหวัดสงขลา โดยภาพรวมไม่แตกต่างกัน ครูที่ทำงานในสถานศึกษาขนาดต่างกัน มีความคิดเห็นต่อการคงอยู่ของครูโรงเรียนเอกชน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสงขลา เขต 2 จังหวัดสงขลา โดยภาพรวมและรายด้านแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05

Downloads

Download data is not yet available.

References

กระทรวงศึกษาธิการ. (2559ข). แผนพัฒนาการศึกษาของสำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ฉบับ
ที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564). กรุงเทพมหานคร: สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ.
กานดา จันทร์แย้ม. (2546). จิตวิทยาอุตสาหกรรมเบื้องต้น. กรุงเทพมหานคร: โอเดียนสโตร์.
ณัฏฐพันธ์ เขจรนันท์. (2551). พฤติกรรมองค์การ. กรุงเทพมหานคร: ซีเอ็ดยูเคชั่น.
ดุษยา กลิ่นสุคนธ์. (2557). ปัจจัยของความผูกพันต่อองค์กรของครูในสถานศึกษา สังกัดโรงเรียน
เอกชน จังหวัดลพบุรี. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี).
นทิยา สุพิพัฒน์. (2555). ความพึงพอใจในการปฏิบัติงานที่มีความสัมพันธ์กับความผูกพันต่อ
องค์การ ของครูสังกัดสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน เขตหนองจอก
กรุงเทพมหานคร. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย).
นวรัตน์ วิบูลย์ศรี. (2550). การศึกษาความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของครูโรงเรียนอาชีวศึกษา
เอกชน กรุงเทพมหานคร. (วิทยานิพนธ์ปริญญมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยราชภัฏ
สวนสุนันทา).
ผกาทิพย์ ฉิมพงษ์. (2553). ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยบางประการกับความผูกพันต่อองค์กร ของ
ครูโรงเรียนเอกชน จังหวัดพัทลุง. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยทักษิณ).
พิศสุภา ปัจฉิมสวัสดิ์. (2556). ความผูกพันต่อองค์การของบุคลากรในโรงเรียนอนุบาลเอกชน.
วิทยานิพนธ์ บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
ไพศาล อานามวัฒน์. (2543). แรงจูงใจในการปฏิบัติงานของครูในโรงเรียนคาทอลิก สังฆมณฑล
จันทบุรี. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์).
ภคพล เส้นขาว. (2557). ปัจจัยที่มีผลต่อความผูกพันต่อองค์กรของบุคลากรทางการศึกษา
โรงเรียนเอกชนในเขตกรุงเทพมหานคร. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์).
ภูกมล นวนาทเจษฎา. (2557). ความผูกพันของครูโรงเรียนเอกชนต่อสถานศึกษา ระดับประถมศึกษา
เขตพื้นที่การศึกษากรุงเทพมหานคร. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยเซนต์จอห์น).
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมธิราช. (2540). ประมวลชุดวิชา ทฤษฏีและแนวปฏิบัติในการบริหาร
การศึกษา (พิมพ์ครั้งที่ 2). นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมธิราช.
เมธี ปิลันธนานนท์. (2549). การบริหารงานบุคคลในวงการศึกษา. กรุงเทพมหานคร: โอเดียนสโตร์.
สายสุดี กฤตยพิสิฐ. (2552). ความผูกพันต่อองค์กร : กรณีศึกษาพนักงานขายโฆษณาบริษัท เนชั่น
มัลติมีเดีย กรุ๊ป จำกัด (มหาชน). (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, สถาบันบัณฑิตพัฒน
บริหารศาสตร์).
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสงขลา เขต 2. (2559). ข้อมูลทั่วไป. สงขลา: สำนักงาน
เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสงขลา เขต 2. สืบค้นเมื่อ 20 พฤษภาคม 2559,
จาก https://www.ska2.go.th
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ. (2536). ปัจจัยที่ส่งผลต่อความสำเร็จของโรงเรียน
อาชีวศึกษาเอกชน. รายงานการวิจัย. กรุงเทพมหานคร: สำนักงานคณะกรรมการ
การศึกษาแห่งชาติ.
สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2547). “ความก้าวหน้าการปฏิรูปการเรียนรู้ระดับการศึกษาขั้น
พื้นฐาน. ในการประชุมทางวิชาการ,” ใน การวิจัยทางการศึกษา ครั้งที่ 11. (24), 26-27
สิงหาคม 2548 โรงแรมแอมบาสเดอร์ สุขุมวิท. กรุงเทพมหานคร: กระทรวงศึกษาธิการ.
สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2550). “ปัญหาความเสมอภาคและคุณภาพการศึกษาไทย”
สภาวการศึกษาไทย ปี2550/2551. กรุงเทพมหานคร: วี.ที.ซี.คอมมิวนิเคชั่น.
สุกัญญา รัศมีธรรมโชติ. (2554). พัฒนาดาวเด่นเพื่อองค์กรเป็นเลิศด้วย Tatent Management by
Compettency Based Career Development and Succession Planing. กรุงเทพมหานคร: สถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ.
สุพร ขำเจริญศักดิ์. (2553). การศึกษาความผูกพันต่อองค์กรของครูโรงเรียนสตรีมารดาพิทักษ์
จันทบุรี. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยบูรพา).
สุรพล สุวรรณแสง. (2553). ปัจจัยการคงอยู่ของครูโรงเรียนเอกชนในระบบที่จัดการศึกษาขั้น
พื้นฐาน. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์).
ศุภรินี อำภรณ์. (2555). ปัจจัยเชิงสาเหตุด้านการบริหารที่ส่งผลต่อการลาออกจากงานของครู
โรงเรียนเอกชน. (วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์).
อรอุมา เปรมานุพันธ์. (2554). การศึกษาความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของครูในโรงเรียน
วิศวกรรมเทคโนโลยีบริหารธุรกิจ จังหวัดชลบุรี. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต,
มหาวิทยาลัยบูรพา).
Steer, R. M. (1977). Organization Effectiveness. California : Goodyear Publishers Inc.
Translated Thai References (ส่วนที่แปลรายการอ้างอิงภาษาไทย)
Arnarmwat, P. (2000). Motivation in the work of teachers in Catholic schools. Diocese of
Chanthaburi. (Thesis Master of Education, Kasetsart University). [in Thai] Chanyam, K. (2003). Introduction to Industrial Psychology. Bangkok: Odeon Store. [in Thai] Chimpong, P. (2010). Relationship between some factors and organizational commitment
of teachers in private schools in Phatthalung Province. (Thesis Master of Education,
Thaksin University). [in Thai] Kajornnun, N. (2008). Organization Behavior. Bangkok: SE-EDUCATION. [in Thai]
Khamchareonsak, S. (2010). A study of organizational commitment of teachers in
Streemandapitak School Chantaburi Province. (Thesis Master of Education,
Burapha University). [in Thai] Klinsukon, D. (2014). Factors of Organizational Commitment of Teachers in Educational
Institutions belong to Private School in Lopburi Province. (Thesis Master of
Education, Thepsatri Rajabhat University). [in Thai] Kritayapisit, S. (2009). Organizational Commitment: A Case Study of Sales Representatives
of Nation Multimedia Group Public Company Limited. (Thesis Master of Art,
National Institute of Development Administration). [in Thai] Ministry of Education. (2016). Education Development Plan of the Office of the
Permanent Secretary Ministry of Education The 12th (2017-2021). Bangkok: Office
of the Permanent Secretary Ministry of Education. [in Thai] National Education Commission. (1993). Factors Affecting the Success of Private
Vocational Schools. Research Report. Bangkok: National Education Commission. [in Thai] Nawanartjessada, P. (2014). Commitment of private school teachers to schools. Primary
school Bangkok Educational Service Area. (Thesis Master of Education, Saint john’s
University). [in Thai] Office of Songkhla Educational Service Area 2. (2016). General Infornation. Songkhla:
Office of Songkhla Educational Service Area 2. Retrieved May 20, 2016, from https:// www.ska2.go.th. [in Thai] Office of the Educational Council. (2004). “Advancement of basic education learning
reform. In academic meetings,” in Educational Research 11th, (24), 26-27 August
2005 Ambassador Hotel Bangkok Sukhumvit. Bangkok: Ministry of Educaton. [in Thai] Office of the Educational Council. (2007). “Equality and Quality in Thai Education” Thai
Education 2007/2008. Bangkok: V.C.T. Communication. [in Thai] Pachimsawat, P. (2013). Organizational Commitment of Personnel in Private Kindergarten
School. (Thesis Master of Business Administration, Kasetsart University). [in Thai] Piluntananont, M. (2006). Human Resource Management in Education. Bangkok: Odeon Store. [in Thai]
Rasmithammachot, S. (2011). Develop a star for excellence with Tatent Management by
Competentcy Based Career Development and Succession Planning. Bangkok:
Thailand Productivity Institute. [in Thai] Senkaow, P. (2014). Factors Affecting Organizational Commitment of Educational
Personnel in Private Schools in Bangkok. (Thesis Master of Art, Kasetsart
University). [in Thai] Sukhothai Thammathirat Open University. (1997). Theory and Practice in Educational
Administration (2nd Edition). Nonthaburi: Sukhothai Thammathirat Open
University. [in Thai] Suphipat, N. (2012). Job satisfaction in relation to organizational commitment of teachers
under the Office of the Private Education Commission Nong Chok, Bangkok.
(Thesis Master of Education, Chulalongkorn University). [in Thai] Suwansang, S. (2010). Factors Affecting Private School Teachers in Basic Education
Management System. (Thesis Master of Education, Dhurakij Pundit University). [in Thai] Wiboolsri, N. (2007). A study of job satisfaction of teachers in private vocational schools
in Bangkok. (Thesis Master of Education, Suan Sunandha Rajabhat University). [in Thai] Aumporn, S. (2012). Administrative factors affecting the resignation of private school
teachers. (Dissertation Doctoral of Education, Kasetsart University). [in Thai] Premanupan, A. (2011). A Study of Job Satisfaction of Teachers in Technological College
of Engineering and Business Administration Chonburi province. (Thesis Master of Education, Burapha University). [in Thai]

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2019-08-10