การพัฒนาแนวทางการดําเนินงานโรงเรียนสุขภาวะ สังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จังหวัดตาก
คำสำคัญ:
โรงเรียนสุขภาวะ, แนวทางการดำเนินงาน, องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จังหวัดตากบทคัดย่อ
การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาองค์ประกอบและตัวชี้วัดโรงเรียนสุขภาวะสําหรับสถานศึกษา 2) ศึกษาสภาพปัจจุบันและสภาพที่พึงประสงค์โรงเรียนสุขภาวะสําหรับสถานศึกษา 3) พัฒนาแนว ทางการดําเนินงานโรงเรียนสุขภาวะสําหรับสถานศึกษา กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้บริหารสถานศึกษา และครูอนามัยโรงเรียน จํานวน 130 คน ได้มาจากการสุ่มแบบแบ่งชั้นภูมิ เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา คือ แบบสอบถามแบบประเมิน องค์ประกอบและตัวชี้วัด แบบสัมภาษณ์ แบบประเมินแนวทาง สถิติที่ใช่ในการศึกษา คือ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าดัชนีลําดับความสําคัญของความต้องการจําเป็นแบบปรับปรุง ผลการศึกษา พบว่า 1.องค์ประกอบและตัวชี้วัดโรงเรียนสุขภาวะสําหรับสถานศึกษามี 5 องค์ประกอบ 14 ตัวชี้วัด ได้แก่ 1) ผู้เรียนเป็นสุข 2) โรงเรียนเป็นสุข 3) สภาพแวดล้อมเป็นสุข 4) ครอบครัวเป็นสุข และ 5) ชุมชนเป็นสุขซึ่งด้านผู้เรียนเป็นสุขมี 6 ตัวชี้วัด ด้านโรงเรียนเป็นสุขมี 3 ตัวชี้วัด ด้านสภาพแวดล้อมเป็นสุขมี 1 ตัวชี้วัด ด้านครอบครัวเป็นสุขมี 3 ตัวชี้วัด และด้านชุมชนเป็นสุข มี 1 ตัวชี้วัด 2. สภาพปัจจุบันการดําเนิน งานโรงเรียนสุขภาวะสําหรับสถานศึกษาโดยรวมอยู่ในระดับมากทุกด้าน ส่วนสภาพพึงประสงค์โรงเรียนสุขภาวะสําหรับสถานศึกษาโดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุดทุกด้าน 3. แนวทางการพัฒนาการดําเนินงานโรงเรียนสุขภาวะสําหรับสถานศึกษาด้านผู้เรียนเป็นสุขมี 6 แนวทาง ด้านโรงเรียนเป็นสุขมี 5 แนวทาง ด้านสภาพ แวดล้อมเป็นสุขมี 4 แนวทางด้านครอบครัวเป็นสุข มี 6 แนวทางและด้านชุมชนเป็นสุขมี 5 แนวทาง
Downloads
References
กรมอนามัย. องค์ประกอบของสุขภาพ. <https://www.Advisor.anamai.moph.go.th/262/26201.html> 25 เมษายน 2558.
จารุณี แสนลํา. การวิเคราะห์องค์ประกอบสุขภาวะในองค์กรที่สัมพันธ์กับประสิทธิภาพการทํางานของมหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา. วิทยานิพนธ์ กศ.ม. มหาสารคาม : มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 2550.
ณัฎฐิยา แก้วถาวร. การจัดการความปลอดภัยในโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาเพชรบุรี เขต 2. การศึกษาค้นคว้าอิสระ กศ.ม. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2551.
บดินทร์ อินต๊ะจักร. การศึกษาพฤติกรรมการบริโภคเครื่องดื่มน้ำอัดลมของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้น โรงเรียนสตรีวิทยา 2 ปีการศึกษา 2556 . รายงานการวิจัย กศ.บ. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, 2555.
ปรัชญาภรณ์ โปทา. โรงเรียนวิถีชุมชนท้องถิ่นกับการเสริมสร้างสุขภาวะเพื่อศึกษากระบวนการส่งเสริมสุขภาวะโรงเรียนวิถีชุมชนท้องถิ่น. รายงานการวิจัย กศ.บ. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, 2555.
ประวิต เอราวรรณ์. การสังเคราะห์โครงการเกี่ยวกับการพัฒนาระบบการจัดการและกระบวนการเรียนรู้ด้านสุขภาวะในโรงเรียน. มหาสารคาม : คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 2547 ก.
ปราณี อินทรักษา. การศึกษาการดําเนินการรักษาความปลอดภัยของสถานศึกษาระดับมัธยมศึกษาสังกัดสํานักงานคณะกรรมการศึกษาขั้นพื้นฐาน. วิทยานิพนธ์ ค.ม. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2555.
พระชานนท์ จักรใจ. การมีส่วนร่วมของผู้ปกครองในการจัดการศึกษาของโรงเรียนบ้านถ้ำ สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงราย เขต 3. วิทยานิพนธ์ ศษ.ม. เชียงราย : มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง, 2556.
ภัทรพล ดีเดิน. การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นในการจัดการเรียนการสอนของครูในโรงเรียนประถมศึกษา อําเภอลาดหลุมแก้ว สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาปทุมธานี เขต 1. วิทยานิพนธ์ ศษ.ม. ปทุมธานี : มหาวิทยาลัยปทุมธานี, 2554
มูลนิธิสถาบันวิจัยระบบการศึกษา. คู่มือการประเมินตนเองโรงเรียนสุขภาวะ. 2544. <https://www.ires.or.th/wp> 2558.
วราภรณ์ บุญเชียง. อนามัยโรงเรียน. เชียงใหม่ : สํานักพิมพ์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 2556.
วิไล กวางศรี. บทบาทผู้บริหารความปลอดภัยในสถานศึกษา. ค้นคว้าอิสระ ศษ.ม. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2550
ศันสนีย์ ฉัตรคุปต์ และคณะ. การเรียนรู้อย่างมีความสุข : สารเคมีในสมองกับความสุขและการเรียนรู้. กรุงเทพฯ : สกายบุ๊กส์, 2544.
ศูนย์วิจัยและพัฒนาครอบครัวไทย. รายงานการวิจัยการศึกษาและพัฒนารูปแบบการเสริมสร้างหลักประกันความมั่นคงของครอบครัว. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2553.
สํานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา. แนวทางการบริหารหลักสูตรและการเรียนการสอนตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544. กรุงเทพฯ : สํานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา, 2549.
สุชาติ โสมประยูร และเอมอัชฌา วัฒนบุรานนท์. การบริหารงานสุขศึกษาในโรงเรียน. กรุงเทพฯ : สุขภาพใจ, 2542.
สุรพล พิมพ์สอน และคณะ. การมีส่วนร่วมของโรงเรียน ผู้ปกครอง และชุมชน เพื่อยกระดับคุณภาพผู้เรียนของสถานศึกษา สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาขอนแก่น เขต 1. วิทยานิพนธ์ ศษ.ม. ขอนแก่น : มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 2557.
เอมอัชฌา วัฒนบุรานนท์. หลักการทางสอนสุขศึกษา. กรุงเทพฯ : โอ.เอส.พริ้นติ้ง เฮาส์, 2556.
Translated Thai References (ส่วนที่แปลรายการอ้างอิงภาษาไทย)
Boonchieng, W. (2013). School health living. Chiang Mai: Chiang Mai University Press. [in Thai]
Bureau of Academic Affairs and Educational Standards. Curriculum management guideline and teaching-learning model in relevant to basic education curriculum, 2001. Bangkok: Bureau of Academic Affairs and Educational Standards. [in Thai]
Chatkhup, S., et al. (2001). Happiness Learning: Neurotransmitters in relation with happiness and learning. Bangkok: Skybook. [in Thai]
Deeduen, P. (2011). An application of folk wisdom to educational management of teachers in elementary schools under Pathumthani educational service area office 1. Master’s thesis, Faculty of Education, Pathumthani University. [in Thai]
Department of Health. (2015). The composition of health. Retrieved from https://www.Advisor.anamai.moph.go.th/262/26201.html [in Thai]
Erawan, P. (2004). A project synthesis of management system development and learning process on health promoting among schools. Faculty of Education, Mahasarakham University. [in Thai].
Institute for Research on Education System Foundation. (2001). Manual for self-assessment of healthy school. Retrieved from https://www.ires.or.th/wp [in Thai]
Intaruksa, P. (2012). A Study of security operations in elementary educational institutes under Office of the Basic Education Commission. Master’s Thesis, Faculty of Education, Chulalongkorn University. [in Thai]
Intajak, B. (2012). A study of behavior toward soft drinks consumption of lower secondary school students at Satriwitthaya 2 School during an academic year of 2013. Research report, Education Program, Faculty of Science, Srinakharinwirot University. [in Thai]
Jakjai, P. (2013). Parents’ participation in education management of Ban Tham School, Chiang Rai elementary educational service area office 3. Master’s thesis, Education program, School of Sinology, Mae Fah Luang University. [in Thai]
Kaewthavorn, N. (2008). Safety management among primary schools in Phetchaburi educational service area office 2. Master’s independent study, Faculty of Education, Kasetsart University. [in Thai]
Kwangsee, W. (2007). The role of school administrators in school safety management. Master’s independent study, Department of Educational Administration, Graduate school, Silpakorn University. [in Thai]
Pimsorn, S., et al. (2014). Participation of schools, parents, and community enhancing for students’ quality in schools under the office of Khon Kaen primary educational service area 1. Master’s thesis, Faculty of Education, Khon Kaen University. [in Thai]
Pota, P. (2012). Community-based schools and health promotion to study the health promotion process of a community-based school. Research report, Education Program, Faculty of Science, Srinakharinwirot University. [in Thai]
Research and Thai Family Development Center. (2010). A research report of a study and development of model promoting Thai family security. Bangkok: Sukhothai Thammathirat Open University. [in Thai]
Sanlam, J. (2007). An analysis of workplace wellness factors relating to Nakhon Ratchasima Rajabhat University performances. Master’s Thesis, Department of Educational Administration, Faculty of Education, Mahasarakham University. [in Thai]
Somprayoon, S., and Wattanaburanon, A. (1999). School health administration. Bangkok: Sukkhapabjai Group. [in Thai]
Sudaprasert, K. (2000). Key success indicators for educational reform. Bangkok: Office of The National Education Commission, Office of The Prime Minister. [in Thai]
Wattanaburanon, A. (2013). Health education instructing principles. Bangkok: O.S. Printing House. [in Thai]
World Health Organization. (1994). Life Skills Education for Children and Adolescents in School. Retrieved from https://www.unescap/org/esid/hds/pubs/2317