การบริหารแบบมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาของโรงเรียนพระปริยัติธรรมในภาคตะวันออกเฉียงเหนือกลุ่ม 11 ของประเทศไทย

ผู้แต่ง

  • พระจักรกฤษ สีสิ้ว มหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย
  • กิจพิณิฐ อุสาโห มหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย

คำสำคัญ:

การบริหารแบบมีส่วนร่วม, การจัดการศึกษา, โรงเรียนพระปริยัติธรรม

บทคัดย่อ

วัตถุประสงค์ของการศึกษาวิจัยครั้งนี้ 1) เพื่อศึกษาสภาพการบริหารแบบมีส่วนร่วมของโรงเรียนพระปริยัติธรรมในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กลุ่ม 11 ของประเทศไทย 2) เพื่อศึกษาแนวทางพัฒนาการบริหารแบบมีส่วนร่วมของโรงเรียนพระปริยัติธรรมในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กลุ่ม 11ของประเทศไทย กลุ่มตัวอย่างได้แก่ ผู้บริหารและครูจำนวน 181 คน สุ่มตัวอย่างโดยวิธีสุ่มแบบแบ่งชั้น เครื่องมือ คือ แบบสอบถามและวิเคราะห์เนื้อหาจากคำถามปลายวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ สถิติความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า                 

  1. สภาพในภาพรวมของการบริหารแบบมีส่วนร่วมของโรงเรียนพระปริยัติธรรมในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กลุ่ม 11 ของประเทศไทย 4 ด้าน ได้แก่ 1.1) ด้านการมีส่วนร่วมในผลประโยชน์ 1.2) ด้านการมีส่วนร่วมในการตัดสินใจ 1.3) ด้านด้านการมีส่วนร่วมในการประเมินผล 1.4) ด้านการมีส่วนร่วมในการปฏิบัติอยู่ในระดับปานกลาง
  2. แนวทางพัฒนาการบริหารแบบมีส่วนร่วมของโรงเรียนพระปริยัติธรรมในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กลุ่ม 11 ของประเทศไทย มีดังนี้ 2.1) สนับสนุนให้มีการรับฟังความคิดเห็นตามกระบวนการประชาธิปไตย ของการมีส่วนร่วมในการปฏิบัติ 2.2) จัดการประเมินผลระหว่างการจัดการศึกษาโดยพิจารณาสอดคล้องกับตัวบ่งชี้ของการประกันคุณภาพการศึกษากับผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง สมรรถนะสำคัญ และโครงสร้าง เนื้อหา ของการมีส่วนร่วมในการประเมินผล 2.3) สำรวจและทบทวนหลักการจัดการศึกษาในการมีส่วนร่วมในการตัดสินใจ 2.4)กำหนดบทบาทการมีส่วนร่วมของบุคลากรในการมีส่วนร่วมในผลประโยชน์

Downloads

Download data is not yet available.

References

กระทรวงศึกษาธิการ. (2546). ขอบข่ายและภารกิจการบริหารและจัดการสถานศึกษา. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว.
กระทรวงศึกษาธิการ. (2553). คู่มือการบริหารจัดการระบบคุณภาพ. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จำกัด.
จันทรานี สงวนนาม. (2553). ทฤษฎีและแนวปฏิบัติในการบริหาร (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพมหานคร: บุ๊คพอยท์.
ธนากร ทองทิพย์. (2555). สภาพปจจุบันและแนวทางการมีส่วนร่วมเพื่อพัฒนาศักยภาพการบริหารงานวิชาการของโรงเรียนวัดบานสนวน สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย เขต 2. (วิทยานิพนธครุศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์).
ธีระ รุญเจริญ. (2550). ความเป็นมืออาชีพในการจัดและบริหารการศึกษาในยุคปฏิรูปการศึกษา. (พิมพ์ครั้งที่ 4). กรุงเทพมหานคร: ข้าวฟ่าง.
เมตต์ เมตต์การุณ์จิต. (2553). การบริหารจัดการศึกษาแบบมีส่วนร่วม : ประชาชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและราชการ. (พิมพ์ครั้งที่ 3). นนทบุรี: บุ๊ค พอยท์.
สมาคมกรรมการสถานศึกษาแห่งประเทศไทย. (2555). กรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน. กรุงเทพมหานคร: อักษรเจริญทัศน์.
สมศักดิ์ ดลประสิทธิ์. (2551). เอกสารประกอบการอบรมสัมมนาเรื่องการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน (School-Based Management: SBM). สบืคน้จาก http://www.moe.go.th/wijai/sbm.htm
Beer, M. (2003). Managing Change and Transition. Harvard Business School Press, 8(11),
8195. Cohen, J. M., & Uphoff, N. T. (1977). Rural development participation: concepts and
measures for project design, implementation and evaluation. New York: The rural
development committee center for international studies, Cornell University. Delaney, R. (2000). Parent participation in district-level curriculum decision-making: a year
in the life of school district. ProQuest digital dissertations, 60(7), 2349-A. Krejcie, R. V., & Morgan, D. W. (1970). Determining sample size for research activities.
Educational and psychological measurement, 30(3), 607-610. Schermerhorn, J. R. (2011). Management (11th edition.). New York: John Wiley & Sons.
Translated Thai References (ส่วนที่แปลรายการอ้างอิงภาษาไทย)
Ministry of Education. (2003). Scope and mission of school administration and management. Bangkok: Khurusapha Printing, Lat Phrao. [In Thai] Ministry of Education. (2010). Quality management system manual. Bangkok: Thailand
Agricultural Cooperative Assembly Printing Company Limited. [In Thai] Sanguanarm C. (2010). Theories and practices in administration (2nd edition). Bangkok:
Bookpoint. Thongthip, T. (2012). Current conditions and guidelines for participation in the development
of academic administration potential of Wat Ban Sanuan School Under the
Office of Buriram Primary Education Area, District 2. (Master’s thesis, Buriram
Rajabhat University). [In Thai] Rooncharoen, T. (2007). Professionalism in organizing and managing education in the
educational reform era (4th edition). Bangkok: Khaofang. [In Thai] Metkaroonchit, M. (2010). Participatory education management: people, local administrative
organizations and government agencies (3rd edition). Nonthaburi: Bookpoint. Association of Educational Institutes of Thailand. (2012). Director of Basic Education
Institution. Bangkok: Alphabet Charoenwat. Dolprasith S. (2008). Seminar on School-Based Management: SBM. Retrieved from: http://www.moe.go.th/wijai/sbm.htm

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2019-08-10