The Needs of Developing a Private Secondary School Management According to The Concept of Student Voice
ความต้องการจำเป็นในการพัฒนาการบริหารโรงเรียนมัธยมศึกษาเอกชน ตามแนวคิดการมีส่วนร่วมที่มีคุณค่าของนักเรียน (Student Voice)
คำสำคัญ:
การมีส่วนร่วมที่มีคุณค่าของนักเรียน , การบริหารโรงเรียนมัธยมศึกษาเอกชนบทคัดย่อ
การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความต้องการจำเป็นในการบริหารโรงเรียนมัธยมศึกษาเอกชนตามแนวคิดการมีส่วนร่วมที่มีคุณค่าของนักเรียน เก็บรวบรวมข้อมูลจาก 259 โรงเรียน โดยการสุ่มแบบหลายขั้นตอน ผู้ให้ข้อมูลแบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม ได้แก่ ผู้บริหาร และครูผู้สอน จำนวน 777 คน เครื่องมือที่ใช้ คือ แบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติ ค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าดัชนีความต้องการจำเป็น
ผลการวิจัยพบว่า สภาพปัจจุบันของการบริหารโรงเรียนมัธยมศึกษาเอกชนตามแนวคิดการมีส่วนร่วมที่มีคุณค่าของนักเรียน ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก โดยการบริหารโรงเรียนที่มีค่าเฉลี่ยสูงที่สุด คือ การดำเนินงานสภานักเรียน รองลงมาคือ การจัดการเรียนการสอน การจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน การวัดผลประเมินผล และการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา มีค่าเฉลี่ยต่ำที่สุด ส่วนสภาพที่พึงประสงค์ในภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด โดยการบริหารโรงเรียนมัธยมศึกษาเอกชนที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ การจัดการเรียนการสอน และการดำเนินงานสภานักเรียน รองลงมาคือ การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา ส่วนการวัดผลประเมินผล และการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนมีค่าเฉลี่ยต่ำที่สุด ทั้งนี้ค่าดัชนีความต้องการจำเป็นของการบริหารโรงเรียนมัธยมศึกษาเอกชนที่มีลำดับความต้องการจำเป็นในภาพรวมคือ .266 สูงสุด คือ การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา รองลงมาคือ การวัดผลประเมินผล การจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน การจัดการเรียน
การสอน และการดำเนินงานสภานักเรียน ตามลำดับ ผลการวิจัยนี้สามารถนำไปใช้เป็นฐานในการพัฒนาหลักสูตร และการจัดการเรียนรู้ที่ส่งเสริมการมีส่วนร่วมที่มีคุณค่าของนักเรียนในสถานศึกษาต่อไป
Downloads
References
Bahou, L. (2011). Rethinking the challenges and possibilities of student voice and agency. Educate~, 1(1), 2-14.
Benner, M., Brown, C., & Jeffrey, A. (2019). Elevating student voice in education. Center for American Progress. https://www.americanprogress.org/issues/education-k-12/reports/2019/08/14/473197/ elevating-student-voice-education
Chaemchoy, S., Siribanpitak, P., Usaho, C., Koraneekij, P., Petpon, P., & Chaimongkol, N. (2022). Policy design for transforming learning systems responsive to future global changes in Thailand 2040. Kasetsart Journal of Social Sciences, 43(2), 509-516.
Cook-Sather, A. (2006). Sound, presence, and power:“Student voice” in educational research and reform. Curriculum Inquiry, 36(4), 359-390.
De Vroey, A., Struyf, E., & Petry, K. (2016). Secondary schools included: a literature review. International journal of inclusive education, 20(2), 109-135.
Fletcher, A. (2012). Student voice and student engagement as Trojan horses. Connect (194), 24.
Gunter, H., & Thomson, P. (2007). Learning about student voice. Support for learning, 22(4), 181.
McMahon, B., Munns, G., Smyth, J., & Zyngier, D. (2012). Student engagement for equity and social justice: creating space for student voice.
Mitra, D. (2006). Increasing student voice and moving toward youth leadership. The prevention researcher, 13(1), 7-10.
Mitra, D. L., & Gross, S. J. (2009). Increasing student voice in high school reform: Building partnerships, improving outcomes. Educational Management Administration & Leadership, 37(4), 522-543.
Newmann, F. M. (1992). Student engagement and achievement in American secondary schools. ERIC.
NSW Department of Education, A. (2020). Student voice, participation and leadership. https://education. nsw.gov.au/student-wellbeing/student-voices/student-voice-and-leadership
Office of the Permanent Secretary, Ministry of Education. (2017). Educational Statistic 2017. Bangkok: Bureau of information and communication technology.
Office of Private Education Commission. (2022). Private Education statistic 2022. Retrieved March 10, 2022, from https://opec.go.th/stat
PimPa, P. (2018). Current Thai Studies. Academic Journal of Mahamakut Buddhist University Roi Et Campus, 7(1), 242-249.
Prime Minister’s Office. (2021). The National Economic and Social Development Plan Summary Edition. Bangkok: Office of the national economic and social development council.
Quaglia, R. J., & Fox, K. M. (2018). Student voice: A way of being. Australian Educational Leader, 40(1), 14-18.
Rudduck, J. (2007). Student voice, student engagement, and school reform. In International handbook of student experience in elementary and secondary school (pp. 587-610). Springer.
St John, K., & Briel, L. (2017). Student voice: A growing movement within education that benefits students and teachers. Center on Transition Innovations.
Suekrasae, T. (2013). Strategic Management of Private Schools for Excellence.
Toshalis, E., & Nakkula, M. J. (2012). Motivation, engagement, and student voice. Jobs for the Future Boston, MA.
UNESCO, I. (2020). Basic texts of the 2003 convention for the safeguarding of the intangible cultural heritage.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2024 วารสารการบริหารและนวัตกรรมการศึกษา
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.