การพัฒนารูปแบบการสร้างมูลค่าเพิ่มผลิตภัณฑ์ผ้าไหมทอมือตามแนวคิดเศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์ของชุมชนบ้านประทุน ตำบลแตล อำเภอศีขรภูมิ จังหวัดสุรินทร์

ผู้แต่ง

  • Apicha Pornjaroenkun
  • Ratchadaporn Ketanon Neawheangtham

คำสำคัญ:

เศรษฐกิจสร้างสรรค์; การสร้างมูลค่าเพิ่ม; การพัฒนาผลิตภัณฑ์

บทคัดย่อ

การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา การพัฒนารูปแบบการสร้างมูลค่าเพิ่มผลิตภัณฑ์ผ้าไหมทอมือตามแนวคิดเศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์ของชุมชนบ้านประทุน จังหวัดสุรินทร์เป็นการวิจัยและพัฒนา โดยใช้วิธีการวิจัยผสมผสาน ระหว่างการวิจัยเชิงปริมาณและการวิจัยเชิงคุณภาพ รูปแบบผลิตภัณฑ์การสร้างมูลค่าเพิ่มผ้าไหมทอมือตามแนวคิดเศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์ของชุมชนผ้าไหมทอมือบ้านประทุน ได้รูปแบบ “BAN PRATOON Model” ประกอบด้วย องค์ประกอบย่อย ได้แก่ ระดมความคิดพัฒนาผลิตภัณฑ์ (B = Brainstorm product development) กำหนดราคา (A = Appraise) สร้างเครือข่ายเพิ่มช่องทางการค้า (N = Networking) สร้างศักยภาพให้ชุมชน (P = Potentiality Community) ยกระดับการสืบสานภูมิปัญญาท้องถิ่น (R = Raising Knowledge) ความช่วยเหลือจากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (A =Assistance from Local Administrative Organization) นำเทคโนโลยีที่เหมาะสมมาประยุกต์ (T = Technologies) ศูนย์กระจายสินค้า (O = Outlet to customers) สร้างโอกาสทางเศรษฐกิจ (ON = Opportunity & New Market) โดยผ่านการรับรองรูปแบบจากผู้เชี่ยวชาญอันนำไปสู่ความพึงพอใจของลูกค้าต่อผลิตภัณฑ์ผ้าไหมทอมือที่ได้ประยุกต์ขึ้น กลุ่มผ้าไหมทอมือชุมชนบ้านประทุนสามารถนำรูปแบบไปสร้างมูลค่าเพิ่มผลิตภัณฑ์ผ้าไหมทอมือตามแนวคิดเศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์ได้

References

กิตติ ลิ่มสกุล. (2553). “เส้นทาง OTOP สู่ OVOP เคล็ดลับสู่ความสําเร็จ.”
บิสิเนสไทย. (ออนไลน์) สืบค้นจาก http://www.arip.co.th/business news.php?id=410058, เข้าถึงเมื่อ 1 สิงหาคม 2553.
กิตติ์ธนัตถ์ ญาณพิสิษฐ์. (2560). สถานภาพฮูปแต้มอีสานศึกษา : อดีตจนถึง
ปัจจุบัน. วารสารการบริหารปกครอง, 6 (กันยายน 2560): 155 – 173.
เขตรัฐ พ่วงธรรมรงค์. (2553). การสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับผลิตภัณฑ์ผ้าจก
กรณีศึกษาจังหวัดราชบุรี. ราชบุรี : มหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บ้าน
จอมบึง.
ชูชัย สมิทธิไกร. (2553). พฤติกรรมผู้บริโภค. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แห่ง
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
บําเพ็ญ เมืองมูล. (2551). กระบวนการเรียนรู้ในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ของกลุ่ม
สตรีสหกรณ์บ้านต้นผึ้ง อําเภอเมือง จังหวัดลําพูน. การค้นคว้าแบบอิสระ หลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตร์ มหาบัณฑิตสาขาส่งเสริมการเกษตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
พัชรียา เพชรพราว. (2557). “กระบวนการในการใช้เศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์เพื่อ
ยกระดับผลิตภัณฑ์ OTOP สู่ระดับสากลของกลุ่มวิสาหกิจชุมชนตําบลดอนตูม อําเภอบางเลน จังหวัดนครปฐม.” วารสารวิชาการ Veridian E-Journal, 7 (1) : 375.
พิมล ศรีวิกรม์. (2552). พฤติกรรมผู้บริโภค. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แห่ง
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
รัตน์ลวดี โบสุวรรณ และวิศาล บุญประกอบ. (2553). การพัฒนารูปแบบ
ผลิตภัณฑ์มีดและเพิ่มช่อง ทางการจำหน่ายด้วยวิธี E-commerce: ชุมชนบ้านใหม่สร้างความเข้มแข็งผลิตภัณฑ์. เพชรบูรณ์ : มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์.
ศิษฏ์ ลือนาม. (2555). การพัฒนาลวดลายตกแต่งบนเครื่องปั้นดินเผา
ห้วยวังนองเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่ม. เลย : มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย.

สุทธา สายวาณิชย์. (2554). การพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชนเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่ม
สร้างเศรษฐกิจชุมชน เข้มแข็ง. กรุงเทพฯ : สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร.
สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
. (2552). รายงานการศึกษาเบื้องต้น เศรษฐกิจสร้างสรรค์ The Creative Economy. กรุงเทพ ฯ : บี.ซี. เพรส (บุญชิน).
อภิสิทธิ์ ไล่ศัตรูไกล. (2554). “จากเศรษฐกิจสร้างสรรค์สู่อุตสาหกรรมสร้างสรรค์
ทางออกใหม่ของการ พัฒนาเศรษฐกิจ.” เอกสารประกอบการสัมมนาและประชุมเชิงปฏิบัติการเศรษฐกิจสร้างสรรค์ระดับประเทศ ภายใต้แผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555 ครั้งที่ 1 ณ โรงแรมมิราเคิล แกรนด์ คอน เวนชั่น, 17 มกราคม. เข้าถึงเมื่อ 19 กรกฏาคม 2554.เข้าถึงได้จาก http://www.ipthailand.go.th/seminars/download/bkk/bkk01Apisit. Pdf.
Donna Ghelfi , “Understanding the Engine of Creativity in a Creative
Economy : An Interview with John Howkins”.
John Howkins. (2001). “The Creative Economy : How People Make
Money from Ideas ”.
Kotler, P. & Gary A. (2007). Marketing An Introduction. 8th ed.
Pearson Education : Prentice - Hall.
Nilason, T.H. (1992). Value-Added Marketing Marketing. London:
McGraw-Hill.
Yamane, T. (1967). Statistics ; an Introductory Analysis. 2nd ed.
New York: Harper and Row.





Translated Thai References

Bosuwan, R. and Wisarn, B. (2011). The Product and the Selling
Channel (E-commerce) Development of the Ban Mai Community Knife. Phetchabun : Phetchabun Rajabhat University.
Laisatruklai, A. (2011). “From the creative economy to the creative
industries. A new way of economic development.” Paper presented at the Seminar and workshop on creative economy, national level under the Thai strong 2555 No.1. at the Miracle Grand Convention Hotel. January, 17. Accessed July 19. Available from http://www.ip thailand.go.th/seminars/download/ bkk/bkk01Apisit. Pdf
Leunam, S. (2012). A development Decoration Motifs on Pottery of
Huivungnong for Added Value. Loei : Loei Rajabhat University.
Meaungmool, B. (2008). Learning Processing Product Development
of Ban Tunphung Women Cooperative Group, Mueang District, Lamphun Province. Independent Study, Master of Science Agricultural Extension, Chiang Mai University.
Office of the National Economic and Social Development Board and
Thailand Creative & Design Center. (2009). A report on the creative economy. Bangkok: B.C. Press.
Patpraw, P. (2014). “The Process of the creative economy to raise
OTOP products to the international level of Tambol Don Tum, Banglen District, Nakhonpathom Province.” Veridian E-Journal 7, 1 (January-April) : 375.

Poengtrummarong, K. (2010). The Creation of Additional Cost of
Jok Product Ratchaburi Case Study. Ratcha Buri : Muban Chombueng Rajabhat University.
Saivanich, S. (2011). Community Product Development to Add
Value and Strengthen Community Economy.” The National Defence College.
Sittisakrai, C. ( 2010). Consumer Behavior. Bangkok : Chulalongkorn
University.
Srivikorn, P. (2009). Consumer Behavior. Bangkok: Chulalongkorn
University.
Yanpisit, K. (2017). The Status of Isan Mural Studies : Past to Present.
Governance Journal, 6 (September 2017): 155 – 173.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2018-01-21