ความสำคัญของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ต่อความมั่นคงด้านเส้นทางขนส่งพลังงานของจีน

ผู้แต่ง

  • Toucchapong Phekasut

คำสำคัญ:

อาเซียน; จีน; ความมั่นคงทางพลังงาน

บทคัดย่อ

บทความชิ้นนี้มุ่งศึกษาความสำคัญของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ต่อความมั่นคงของเส้นทางการขนส่งพลังงานของจีน ผ่านกรอบแนวคิดภูมิรัฐศาสตร์ โดยมีสมมติฐานว่าเพื่อแก้ปัญหาความไม่มีเสถียรภาพของเส้นทางการลำเลียงพลังงานของจีน ส่งผลให้ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้เข้ามามีบทบาทสำคัญต่อการสร้างความมั่นคงของเส้นทางการขนส่งพลังงานของจีน เนื่องจากความได้เปรียบในเชิงภูมิศาสตร์ที่ส่งผลต่อเส้นทางการขนส่งพลังงานของจีน จากการศึกษาพบว่า ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้จะมีบทบาทสำคัญในการสร้างเสถียรภาพของเส้นทางการขนส่งพลังงานของจีน เพราะมีความความได้เปรียบทางภูมิศาสตร์ 2 ประการ คือ ประการแรก การตั้งอยู่บนเส้นทางการลาเลียงพลังงานของจีน 2 เส้นทางคือ เส้นทางที่ขนส่งพลังงานมาจากละตินอเมริกา ตะวันออกกลาง ผ่านทางช่องแคบมะละกา ทะเลจีนใต้ เข้าสู่จีนทางด้านตะวันออก และเส้นทางที่ขนส่งพลังงานมาจากออสเตรเลียผ่านทางช่องแคบลอมบอก และเข้าสู่จีนเหมือนเส้นทางแรก ประการที่สอง ความใกล้ชิดทางภูมิศาสตร์ระหว่างจีนกับภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ จะช่วยให้จีนมีทางออกทางทะเล นอกเหนือจากทางฝั่งตะวันออก ผ่านทางความร่วมมือการสร้างความเชื่อมโยงทางด้านคมนาคมต่อกัน และการเข้าไปตั้งฐานทัพเรือในประเทศต่างๆ เพื่อป้องกันภัยคุกคามที่จะส่งผลกระทบต่อการลำเลียงพลังงาน อาทิ โครงการความร่วมมือต่างๆ ในเมียนม่าร์ และความร่วมมือในการเชื่อมถนน ในอนุภูมิภาคลุ่มน้าโขง ฯลฯ

Downloads

Download data is not yet available.

References

เอกสารอ้างอิง

กุลนันทน์ คันธิก. (2553). สถานการณ์พลังงานโลก: ผลกระทบต่อความมั่นคง
ด้านพลังงานของจีน. กรุงเทพมหานคร: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
เกียรติชัย พงษ์พาณิชย์. (2559). อาเซียน-จีน ทั้งปีนเกลียว ทั้งเกี่ยวก้อย.
กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์แสงดาว.
โกวิท วงศ์สุรวัฒน์. (2545). ภูมิรัฐศาสตร์. นครปฐม: โรงพิมพ์ศูนย์
ส่งเสริมและฝึกอบรมการเกษตรแห่งชาติ สำนักส่งเสริมและฝึกอบรม กำแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน.
โกสุมภ์ สายจันทร์. (2556). อนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขง ในความสัมพันธ์ระหว่าง
ประเทศ. เชียงใหม่: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
ฐิติพร จิระสวัสดิ์. (2543). นโยบายต่างประเทศของจีนต่อพม่า ช่วงระหว่างปี
ค.ศ. 1988 - 1997. กรุงเทพมหานคร : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ฑภิพร สุพร. (2559). บทความปริทัศน์หนังสือ เรื่อง Is the American Century
Over? By Nye, J. S. (2015), วารสารการบริหารปกครอง, 5 (1): 283 - 291
นรุตม์ เจริญศรี. (2553). ความร่วมมือทางเศรษฐกิจในอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขง. จุล
สารความมั่นคงศึกษา 86.
พฤดี หงุ่ยตระกูล. (2558). “ปัญหาหมอกควันกับภูมิทัศน์ที่เปลี่ยนไปในภูมิภาค
เอเชียตะวันออกและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้". ภูมิทัศน์ที่เปลี่ยนแปลงไปในภูมิภาคเอเชียตะวันออกและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ – เพื่อใคร เพื่ออะไร:พหุคำตอบต่อแรงกดทับของกระแสโลกาภิวัตน์. นนทบุรี: ศูนย์อาเซียนและการระหว่างประเทศศึกษา สาขาวิชารัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน. (2544). บทสรุปเกี่ยวกับการสัมภาษณ์ฟรานซิส ฟูกูยามา:
The End of History and the Last Man. (Online) สืบค้นจาก http://v1.midnightuniv.org/midnight2544/newpage6.html.,เมื่อ 20 กรกฎาคม 2560
หนังสือพิมพ์คม ชัด ลึก ออนไลน์. (2557). เรือน้ำมัน ขุมทรัพย์โจรสลัดมะละกา.
(Online), สืบค้นจาก http://www.komchadluek.net/news/detail/185862,เมื่อ 13 ธันวาคม 2558.
เอนก เหล่าธรรมทัศน์ และศิวพล ละอองสกุล. (2556). จีนมุ่งลงใต้ อินเดีย
มุ่งตะวันออก อาเซียนตอนบนในยุคบูรพาภิวัฒน์. กรุงเทพมหานคร : มาตาการพิมพ์.
Acharya, A. (2014). Constructing a security community in Southeast
Asia: ASEAN and the problem of regional order. New York : Routledge.
Admm-Plus - Asean Defence Minister's Meeting (Admm). (2016).
Admm-Plus - Asean Defence Minister's Meeting (Admm). (Online), Retrieved from https://admm.asean.org/.March 24, 2016.
AATHP. (2002). Asean Agreement on Transboundary Haze
Pollution. (Online), Retrieved from http://haze.asean.org/asean-agreement-on-transboundary-haze-pollution/, November 22, 2016.
Bender, J. (2015). Armin Rosen This Pentagon map shows what’s
really driving China’s military and diplomatic strategy. Business Insider, May 13, 2015.
Eng, K. K. (2000). Negotiating central, provincial, and county policies:
Border trading in South China. In Where China Meets Southeast Asia (pp. 72-97). Palgrave Macmillan US.
Fukuyama, F. (2006). The end of history and the last man. Simon
and Schuster.


Ho, Joshua. (2009). Combating Piracy and Armed Robbery in Asia: The
Recaap Information Sharing Centre (Isc)." Marine Policy 33 (2): 432-34.
Mead, W. R. (2014). The return of geopolitics: The revenge of the
revisionist powers. Foreign Aff., 93, 69.
National University of Singapore (NUS). (1997). Regional Haze Action
Plan: Centre for International Law. (Online), Retrieved from https://cil.nus.edu.sg/rp/pdf/1997%20Regional%20Haze%20Action%20Plan-pdf, June 6, 2016.
Launch of Eyes in the Sky (Eis). (2005). Launch of Eyes in the Sky
(Eis) Initiative – Mindef. (Online), Retrieved from https://www.mindef.gov.sg/imindef/press_room/official_releases/nr/2005/sep/13sep05_nr.html. October 5, 2016.
Qi, Pan. (1985). Opening the Southwest: An Expert Opinion. Beijing
Review 28 (35): 22-23.
The ASEAN Secretariat. (1997). Regional Haze Action Plan. (Online),
Retrieved from https://cil.nus.edu.sg/rp/pdf/1997%20Regional%20Haze%20Action%20Plan-pdf, September 15, 2016.

Translated Thai References

Charoensri, N. (2010). Greater Mekong Subregion Economic
Cooperation. Security Studies Journal 86.
Chirasawadi, T. (2000). China's foreign policy toward Myanmar
during the period of 1988-1997. Bangkok: Chulalongkorn.
Komchadluek Newspapers Online. (2014). Oil tanker: The treasure
of Malacca’s Pirate.(Online), Retrived from http://www.komchadluek.net/ December 13, 2015.
Kunthic, K. (2010). Global Energy Situation: Its Impact on China's
Energy Security. Bangkok: Chulalongkorn University.
Laothamatas, A and Siwaphon, L. (2013). China go to South, India
toward to East: ASEAN in Asia Rising Era. Bangkok: Mata Publisher.
Midnight University. (2001). The Interview Conclusion of Francis
Fukuyama: The End of History and the Last Man. (Online), Retrieved from http://v1.midnightuniv.org/midnight2544/newpage6.html, June 20, 2017.
Nguitragool, P. (2016). Haze pollution and the changing contours in
East and Southeast Asia. In Changing Contours in East and Southeast Asia – What’s For? What’s Next?: Multiplied Answer to Oppressive Forces of Globalization. Nonthaburi: Centre for ASEAN and International Studies, Political Science Sukhothai Thammathirat Open University.
Pongpanit, K. (2016). ASEAN-China both be inconsistent and be
hand in hand. Bangkok: Sangdao Publisher.
Wongsurawat, K. (2002). Geopolitics. Nakhon Pathom: Office of
Extension and Training, Kamphaeng Saen, Kasetsart University Kamphaeng Saen Campus.
Saichan, K. (2013). International Cooperation in The Greater
Mekong Subregion. Chiang Mai: Chiang Mai University Publisher.
Suporn, T. (2016). Book Review : Is the American Century Over? By
Nye, J. S. (2015), Governance Journal, 5 (1): 283 - 291

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2018-01-21