แนวคิดปิตาธิปไตยในพระวินัยปิฎก

ผู้แต่ง

  • Phra Meschai Jaisamran
  • Pratuang Moung-on

คำสำคัญ:

ปิตาธิปไตย; การควบคุมผู้หญิง; พระวินัยปิฎก

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีจุดประสงค์เพื่อศึกษาแนวคิดปิตาธิปไตยในพระวินัยปิฎก โดยใช้วิธีวิจัยเชิงเอกสารวิเคราะห์ตีความเนื้อหาในพระวินัยปิฎก จำนวน 5 คัมภีร์ ตามกรอบแนวคิดปิตาธิปไตย ผลของการศึกษาพบว่า ปรากฏเนื้อหาที่มีลักษณะการควบคุมในแนวคิดปิตาธิปไตยใน 3 ลักษณะคือ (1) ในลักษณะของการควบคุมการให้กำเนิดและการเลี้ยงดูเด็กของผู้หญิง (2) ในลักษณะของการควบคุมในเรื่องเพศวิถีของผู้หญิง และ (3) ในลักษณะของการควบคุมสถานภาพหรือการเคลื่อนไหวทางสังคมของผู้หญิง ในพระวินัยปิฎกจำนวนทั้งสิ้น 3 คัมภีร์ ซึ่งประกอบไปด้วยเนื้อหาในเรื่องต้นบัญญัติจำนวน 45 เรื่อง ทั้งนี้ แม้ว่าเนื้อหาในต้นบัญญัติในพระวินัยปิฎกบางเรื่องจะพบความเป็นปิตาธิปไตยจริง แต่ก็อยู่ในระดับที่เบาบางซึ่งไม่ชัดเจนพอที่จะสามารถวิเคราะห์ตีความว่าถึงขั้นระดับที่มีการควบคุมในแนวคิดและทฤษฎีที่นำมาวิเคราะห์ ส่วนมากจะเป็นไปในลักษณะที่ให้โอกาสหรือสิทธิแก่ผู้ชายมากกว่าผู้หญิงเท่านั้น ซึ่งอาจจะไม่ได้มีเจตนาหรือความตั้งใจที่จะทำให้ผู้หญิงตกเป็นรองแต่อย่างใด

Downloads

Download data is not yet available.

References

เอกสารอ้างอิง

กาญจนา แก้วเทพ และสมสุข หินวิมาน. (2553). สายธารแห่งนักคิดทฤษฎี
เศรษฐศาสตร์การเมืองกับสื่อสารศึกษา. ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: ภาพพิมพ์.
ชาญณรงค์ บุญหนุน. (2544). รายงานการวิจัยสิทธิสตรีในพระพุทธศาสนา
เถรวาท. กรุงเทพฯ: โครงการวิจัยพุทธศาสนากับสังคมไทยและความเป็น
คนไทยของศูนย์พุทธศาสน์ศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
พลากร เจียมธีระนาถ. (2554). วาทกรรมชายเป็นใหญ่ในภาพยนตร์ไทยที่ให้
ความสำคัญแก่สตรี. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
พระมหากมล ถาวโร (มั่งคำมี). (2543). สถานภาพสตรีในพระพุทธศาสนา.
กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
เพ็ญศรี จุลกาญจน์. (2541). การผลิตซ้ำอุดมการณ์เกี่ยวกับบทบาทและ
สถานภาพของหญิงและชาย. เชียงใหม่: มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2535). พระไตรปิฎกบาลี ฉบับมหาจุฬาเตปิฏกํ
2500. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2539). พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลง
กรณราชวิทยาลัย. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
ระเบียบรัตน์ พงษ์พานิช. 2546. การปะทะกันของความรู้ระหว่างปิตาธิปไตยกับ
สตรีนิยม ต่อการสถาปนาภิกษุณีในประเทศไทย. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
วิวรรธน์ สายแสง. (2546). การศึกษาเปรียบเทียบพระวินัยของภิกษุกับภิกษุณี
ในพระพุทธศาสนาเถรวาท : ศึกษาเฉพาะกรณีปาจิตตีย์. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาสงกรณราชวิทยาลัย.
สุรพศ ทวีศักดิ์. (2560). บวชภิกษุณี: คณะสงฆ์ไทยไม่พร้อมเผชิญปัญหา
ท้าทาย. (Online). สืบค้นจาก http://prachatai.com/journal /2009/12/27110,เมื่อ 23 มกราคม 2560,
อาชว์ภูริชญ์ น้อมเนียน. (2560). แนวคิดทางสังคมเรื่องอาชีพจากมุมมองเรื่อง
วรรณะในศาสนาฮินดู. วารสารการบริหารปกครอง, 6 (1): 31 – 61.
Bhasin, K. (1993). What Is Patriarchy?. New Delhi: Women Unlimited.
Bhasin, K. (2003). Understanding Gender. New Delhi: Women
Unlimited.
Brown-Campbell, G. (1998). Patriarchy in the Jamaica Constabulary
Force: Its Impact on Gender Equality. Jamica: Canoe Press.
Dihle, A. (1994). Greek and Latin Literature of the Roman Empire:
From Augustus to Justinian. New York : Psychology Press.
Frier, B. W. and McGinn, T. A. J. (2004). A Casebook on Roman
Family Law. New York : Oxford : Oxford University Press.
Heywood, A. (2013). Politics. 4th ed. New York. Palgrave Macmillan.
Hjerrild, B. (2002). Studies in Zoroastrian Family Law :
A Comparative Analysis. Denmark: Museum
Tusculanum Press.
Juschka, D. M. 2001. Feminism in the Study of Religion. London :
A&C Black.
Lerner, G. (1986). The Creation of Patriarchy. New York: Oxford
University Press.
McDonnell, M. (2006). Roman Manliness: "Virtus" and the Roman
Republic. Cambridge: Cambridge University Press.
Meyers, C. L. (2013). Rediscovering Eve: Ancient Israelite Women in
Context. New York: Oxford University Press.
Millett, K. (1969). Sexual Politics. Reprint: University of Illinois Press.
Wallby, S. (1990). Theorizing Patriarchy. Oxford: Basil Blackwell.
Westermann, W. L.(1984). The Slave Systems of Greek and Roman
Antiquity. Reprint, Philadelphia: American Philosophical Society.



Translated Thai References

Boonnoon, C. (2001). Women's Rights in Theravada Buddhism.
Bangkok: A research project funded by the Chulalongkorn University Centre for Buddhist Studies, Chulalongkorn University. pp. 2-3.
Jiamtiranat, P. (2011). Male-Dominated Discourse in Thai Women-
Centered Films. Bangkok : Chulalongkorn University.
Julakarn, P. (1998). Ideological Reproduction Relating to Roles and
Status of Women and Men. Chiang Mai: Faculty of Education, Chiang Mai University.
Kaewthep, K., & Hinviman, S. (2010). The flow of political economic
theorist and educational communication. 2nd ed. Bangkok: Parbpim.
Mahachulalongkornrajavidyalaya. (1992). The Pali Vinaya Pitฺaka of
Mahachulalongkornrajavidyalaya University. Bangkok : Mahachulalongkornrajavidyalaya University.
Mahachulalongkornrajavidyalaya. (1996). The Thai Vinaya Pitฺaka of
Mahachulalongkornrajavidyalaya University. Bangkok : Mahachulalongkornrajavidyalaya University.
Nomnian, A. (2017). The Social Concept of Occupation on Social
Caste System (Varna) in Hinduism. Governance Journal, 6 (1): 31 – 61.
Phramaha Thavaro, K. (2000). The Status of Women in Buddhism.
Bangkok : Mahachulalongkornrajavidyalaya University.



Pongpanith, R. (2003). The Discursive Contestation of knowledge
between Patriarchy and Feminism: A Study of the Bhikkhunis debate in Thailand. Bangkok: Thammasat University.
Saisaeng, W. (2003). A Comparative Study of the Disciplinary Rules
of Bhikkhu and Bhikkhuni in Theravada Buddhism: A Case Study of Pacittiya (Expiable Offence). Bangkok : Mahachulalongkornrajavidyalaya University.
Thawīsak, S. 2017. Thai Sangha is not ready to face the challenge
of Bhikkhuni ordination. (Online) Retrieved from http://prachatai.com/journal/2009/12/27110, January 23,
2017.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2018-01-21