พระรามในปราสาทของพระอินทร์

พระรามในปราสาทของพระอินทร์

ผู้แต่ง

  • Somkiat Wanthana

คำสำคัญ:

สถาบันกษัตริย์, กรุงศรีอยุธยา, ศาสนา

บทคัดย่อ

กรุงศรีอยุธยา (พ.ศ. 1893 - 2310) มีพระมหากษัตริย์ครองราชสมบัติทั้งสิ้น 34 พระองค์  ชื่อของกรุงศรีอยุธยาคือเมืองของพระราม ซึ่งเป็นอวตารของพระนารายณ์หรือพระวิษณุ เทพเจ้าองค์สำคัญของศาสนาพราหมณ์  พระมหากษัตริย์กรุงศรีอยุธยาส่วนใหญ่มีสร้อยพระนาม “รามาธิบดี” ตามคตินารายณ์อวตาร  พระมหาปราสาทองค์สำคัญๆในกรุงศรีอยุธยาใช้ชื่อที่สื่อว่าเป็นปราสาทของพระอินทร์ เทวดาองค์สำคัญของพุทธศาสนา นั่นคือไพชยนต์มหาปราสาท   ผู้วิจัยค้นพบว่าสถาบันกษัตริย์ไทยสมัยอยุธยาเป็นผลการผสมผสานระหว่างระบบคิด 3 ระบบเข้าด้วยกันคือ ระบบคิดดั้งเดิมแบบศาสนาผี ระบบคิดของศาสนาพราหมณ์ และระบบคิดของศาสนาพุทธ  พระมหากษัตริย์จึงเป็นพลังของอำนาจเหนือธรรมชาติที่บันดาลให้ฝนฟ้าตกต้องตามฤดูกาลได้ตามคติของศาสนาผี เป็นพระรามของศาสนาพราหมณ์ และเป็นพระอินทร์ของศาสนาพุทธ

คำสำคัญ : สถาบันกษัตริย์; กรุงศรีอยุธยา; ศาสนา

Downloads

Download data is not yet available.

References

จิตร ภูมิศักดิ์. (2527). สังคมไทยลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยาก่อนสมัยศรีอยุธยา.
กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ดอกหญ้า.
ฉลาดชาย รมิตานนท์. (2527). ผีเจ้านาย. เชียงใหม่: โครงการตำรา
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
ดำรงราชานุภาพ, สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอกรมพระยา. (2518). “ลักษณะการ
ปกครองประเทศสยามแต่โบราณ” ในประวัติศาสตร์ และการเมือง: หนังสืออ่านประกอบวิชาพื้นฐานอารยธรรมไทย. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
เทพเวที, พระ. (2535). พจนานุกรมพุทธศาสตร์ฉบับประมวลธรรม. กรุงเทพฯ :
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
ธรรมปรีชา, พระยา. (2520 ก-ค). ไตรภูมิโลกวินิจฉยกถา ฉบับที่ 2 (ไตรภูมิฉบับ
หลวง) เล่ม 1 – 3. กรุงเทพฯ : กรมศิลปากร.(2520 ก หมายถึงเล่ม 1; 2520 ข หมายถึงเล่ม 2 ; 2520 ค หมายถึงเล่ม 3)
พรหมคุณาภรณ์, พระ. (2553).พัฒนาสังคมไทยด้วยความรู้เข้าใจไตรภูมิฯ. พิมพ์
ครั้งที่ 8. กรุงเทพฯ: สถาบันบันลือธรรม ธรรมสภา.
พุทธทาสภิกขุ. (2531). ธรรมบรรยายชุดทศพิธราชธรรม. กรุงเทพฯ: มูลนิธิ
เผยแพร่ชีวิตอันประเสริฐ.
มติชน.( 2547). พจนานุกรมฉบับมติชน. กรุงเทพฯ : บริษัทมติชน จำกัด
(มหาชน).
ราชบัณฑิตยสถาน. (2525). พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิยสถาน พ.ศ. 2525.
กรุงเทพฯ: ราชบัณฑิตยสถาน
ราชบัณฑิตยสถาน. (2550). กฎหมายตราสามดวง ฉบับราชบัณฑิตยสถาน เล่ม
2. กรุงเทพฯ: ราชบัณฑิตยสถาน.
ลิไทย,พญา. (2526). ไตรภูมิกถา หรือไตรภูมิพระร่วง. พิมพ์ครั้งที่ 3.กรุงเทพฯ:
กรมศิลปากร.
วินัย พงศ์ศรีเพียร. (2551). พรรณาภูมิสถานพระนครศรีอยุธยา เอกสารจากหอ
หลวง (ฉบับความสมบูรณ์). กรุงเทพฯ: อุษาคเนย์.
ศิราพร ณ ถลาง. (2559) “คติชนสร้างสรรค์” : บทสังเคราะห์ และทฤษฎี.
กรุงเทพฯ: ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน).
ศิลปากร, กรม. (2546). รวมเรื่องราชาภิเษก ธรรมเนียมราชตระกูลในกรุง
สยาม พระราชานุกิจ และอธิบายว่าด้วยยศเจ้า. กรุงเทพฯ: พิมพ์ใน
งานพระราชทานเพลิงศพ พลอากาศตรี จำนง ผุสสราค์มาลัย 13
ธันวาคม 2546 วัดพระศรีมหาธาตุฯ บางเขน
ศรีศักร วัลลิโภดม. (2560). สร้างบ้านแปงเมือง. กรุงเทพฯ:มติชน.
สมเกียรติ วันทะนะ .(2557) . ทฤษฎีอำนาจ. กรุงเทพฯ: สมาคมรัฐศาสตร์แห่ง
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
สมเกียรติ วันทะนะ. (2560). การสืบราชสมบัติในกรุงศรีอยุธยา พ.ศ. 1893 –
2310, วารสารการบริหารปกครอง 6 (2)
สิริมังคลาจารย์,พระ. (2523).จักรวาฬทีปนี. กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร.
สำนักพิมพ์ต้นฉบับ. (2550). อธิบายแผนที่พระนครศรีอยุธยากับคำวินิจฉัยของ
พระยาโบราณราชธานินทร์ และภูมิสถานกรุงศรีอยุธยา. นนทบุรี: สำนักพิมพ์ต้นฉบับ.
เอี่ยม ทองดี. (2538). ข้าว: วัฒนธรรมและการเปลี่ยนแปลง. กรุงเทพฯ :
สำนักพิมพ์มติชน
Singh,G.P. (2005). Political Thought in Ancient India. New Delhi: D.K.
Printworld (P) Ltd.
Skinner, Q. (1978). The Foundations of Modern Political
Thought, Volume One: The Renaissance. Cambridge:
Cambridge University Press.
Skinner, Q. (1988). “A reply to my critics” in Meaning & Context :
Quentin Skinner and his Critics. Edited by James Tully. Princeton, New Jersey: Princeton University Press.
Skinner, Quentin. (2002). Visions of Politics, Volume1: Regarding
Method. Cambridge: Cambridge University Press.

Translated Thai References
Bhiku, B. (1988). Sermon on Thossaphit Ratchatham. Bangkok:
Foundation of Good Life.
Damrong Rajanubhab, Prince. (1975). “Nature of government in Siam
from the past.” in History and Politics: A text for Thai civilization. Bangkok: Thammasat University Press.
Lithai, King. (1983). Traiphum Phra Ruang. Bangkok: Fine Arts
Department.
Matichon. (2004). Dictionary. Bangkok: matichon Press.
Na Thalang S. (2016). Creative Ethnology: Theories and Synthesis.
Bangkok: Sirintorn Anthropology Centre.
Phromkhunaporn, Phra. (2010). Developing Thai Society with
Knowledge of the Traiphum. Bangkok: Institute of Bunlue
Dharma, Dharma Sapha.
Pongsripian, W. Description of the Landscape of Ayutthaya:
Documents from the Royal Library. Bangkok: Usakhaney. Phumisak J. (1984). Thai Society of the Chao Phraya Delta before
Ayutthaya. Bangkok: Dok Ya Press.
Ramitanont C. (1984). Spirits of the Ruling Strata. Chiang Mai: Chiang
Mai University Press.
Rajavidhayalai.Thongdi I. (1995). Rice: Culture and Change. Bangkok:
Matichon Press.
Ratchabundittayasathan. (1982). Dictionary. Bangkok: The Royal
Academy.
Ratchabundittayasathan. (2007). The Laws of the Three Seals,
Volume 2. Bangkok: The Royal Academy.
Samnakphim Tonchabab. (2007). Description of the Map of
Ayutthaya and the Landscape of Ayutthaya. Nonthaburi: Tonchabab Press.
Silapakorn, Krom. (2003). Collection of Accession Stories, Royal
Tradition in Siam, Royal Daily Activities, and Description of the Royal Ranks. Bangkok: Fine Arts Department.
Sirimankalajarn, Phra. (1980). The Light Searching the Universe.
Bangkok: Fine Arts Department.
Thammaprecha, Phraya. (1977c). Traiphum Lokvinitjaiyakatha,
Volume 3. Bangkok: Fine Arts Department.
Thepwaethee, Phra. (1992). Dictionary of Buddhism. Bangkok: Maha
Chulalongkorn
Vallibhotama S. (2017). Founding the Cities. Bangkok: Matichon
Press.
Wanthana S. (2014). Theories of Power. Bangkok: Association of
Political Science of Kasetsart University.
Wanthana, S. (2017). Royal Succession in Ayutthaya Kingdom, 1350 –
1767 AD, Governance Journal 6 (2)

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2018-06-30