รูปแบบการจัดการความรู้เพื่อการเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ของคณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

รูปแบบการจัดการความรู้เพื่อการเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ของคณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

ผู้แต่ง

  • Sittiporn Chuleetham
  • Jularat Wattana
  • Choosak Ueangchokchai

คำสำคัญ:

การจัดการความรู้, องค์กรแห่งการเรียนรู้, มหาวิทยาลัยมหิดล

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาสภาพการจัดการความรู้เพื่อการเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ 2) เพื่อสร้างรูปแบบการจัดการความรู้เพื่อการเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ และ 3) เพื่อศึกษาผลการใช้รูปแบบการจัดการความรู้เพื่อการเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ โดยใช้วิธีการวิจัย แบบผสมผสาน ประชากร คือ การวิจัยเชิงปริมาณ ได้แก่ บุคลากรของคณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล รวมทั้งสิ้น 132 คน และการวิจัยเชิงคุณภาพ ได้แก่ ผู้บริหารของคณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล จำนวน 3 คน และสนทนากลุ่มกับผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 11 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ 1) แบบสอบถาม 2) แบบวัดและ 3) แบบประเมิน ผลการวิจัยพบว่า 1) ภาพรวมของสภาพการจัดการความรู้เพื่อการเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ มีระดับการปฏิบัติการจัดการความรู้อยู่ในระดับมาก 2) รูปแบบการจัดการความรู้เพื่อการเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้มีกระบวนการจัดการความรู้ทั้งหมด 6 ขั้นตอน 3) ผลการใช้รูปแบบการจัดการความรู้เพื่อการเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ พบว่า กลุ่มทดลองใช้รูปแบบการจัดการความรู้เพื่อการเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ทั้งก่อนและหลังมีความแตกต่างกัน ซึ่งแสดงให้เห็นว่า รูปแบบการจัดการความรู้เพื่อการเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ของคณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์มหาวิทยาลัยมหิดล ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นสามารถทำให้ระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับการเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้มีค่าเฉลี่ยเพิ่มขึ้นได้เป็นอย่างดี

คำสำคัญ : การจัดการความรู้; องค์กรแห่งการเรียนรู้; มหาวิทยาลัยมหิดล

 

Downloads

Download data is not yet available.

References

กระทรวงศึกษาธิการ. (2558). การจัดการความรู้. เข้าถึงเมื่อ 2 พฤษภาคม . เข้าถึง
ได้จาก http://www.moe.go.th
เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์. (2547). การพัฒนาบัณฑิตศึกษาของมหาวิทยาลัย
ทิศทางที่ควรเป็นเพื่อส่งเสริมศักยภาพในการแข่งขันกับนานาชาติได้
อย่างยั่งยืน. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต
คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล. (2558). ประวัติความ
เป็นมา. เข้าถึงเมื่อ 12 พฤษภาคม 2561. เข้าถึงได้จาก
http://www.sh.mahidol.ac.th
โครงการพัฒนานักบริหาร มหาวิทยาลัยมหิดล รุ่น 4. (2555). สถานการณ์และ
แนวโน้มการจัดการความรู้ในมหาวิทยาลัยมหิดล. นครปฐม: มหาวิทยาลัยมหิดล.
ฐิติกรณ์ ยาวิไชย จารึกศิลป์ และนันทรัตน์ เจริญกุล (2560). กลยุทธ์การบริหาร
สถาบันอุดมศึกษาตามแนวคิดการเป็นมหาวิทยาลัยสีเขียว, วารสารการบริหารปกครอง 6 (2)
น้ำทิพย์ วิภาวิน. (2547). การจัดการความรู้กับคลังความรู้. กรุงเทพ: บริษัท
เอสอาร์ พริ้นติ้ง แมสโปรดักส์ จำกัด.
นฤมล แก้วป้อม. (2551). วัฒนธรรมองค์การกับการบริหารจัดการความรู้ของ
มหาวิทยาลัยแม่โจ้. วิทยานิพนธ์รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์, มหาวิทยาลัย เชียงใหม่.
นันทวัฒน์ ภัทรกรนันท์. (2559). ศาสตร์และศิลป์การสอนผู้ใหญ่. วารสาร
ศึกษาศาสตร์ ,14 (2): 40-52.
บดินทร์ วิจารณ์. (2547). การจัดการความรู้ สู่...การปฏิบัติ. พิมพ์ครั้งที่ 3.
กรุงเทพฯ: ธรรกมลพิมพ์.
บุญดี บุญญากิจ และคณะ. (2547). การจัดการความร้ ทฤษฎีสู่การปฏิบัติ.
กรุงเทพฯ: จิรวัฒน์ เอ็กเพรส.
ประพนธ์ ผาสุขยืด. (2548). การจัดการความรู้…สู่อนาคตที่ใฝ่ ฝัน สถาบันส่งเสริม
การจัดการความรู้ เพื่อสังคม (สคส.). เข้าถึงเมื่อ 25 พฤศจิกายน. เข้าถึง
ได้จาก http://www.kmi.or.th/ KMI_doc2.html
พรธิดา วิเชียรปัญญา. (2547). การจัดการความรู้: พื้นฐานและการประยุกต์ใช้.
กรุงเทพฯ : เอ็กเปอร์เน็ท.
มหาวิทยาลัยมหิดล. (2558). รายงานผลการประเมินตนเองตามเกณฑ์คุณภาพ
การศึกษาเพื่อการดำเนินการที่เป็นเลิศ ประจำปี 2558. นครปฐม: มหาวิทยาลัยมหิดล.
เมธี ศรีวะรมย์, สุวพร เซ็มเฮง และ ธนวรรธ ศรีวะรมย์. (2560). รูปแบบการบริหาร
จัดการแหล่งเรียนรู้สำหรับสถานศึกษาของวิทยาลัยเทคโนโลยีและอาชีวศึกษาเอกชน จังหวัดยโสธร, วารสารการบริหารปกครอง, 6 (1) : 346 – 378.
วิจารณ์ พานิช. (2547). การจัดการความรู้เพื่อคุณภาพที่สมดุล. กรุงเทพฯ: สถาบัน
ส่งเสริมการจัดการความรู้เพื่อสังคม.
วิจารณ์ พานิช. (2548). การจัดการความรู้กับการบริหารราชการไทย. กรุงเทพฯ:
สถาบันส่งเสริมการจัดการความรู้เพื่อสังคม.
สมบูรณ์ ศิริสรรหิรัญ. (2558). “วิชาทฤษฎีองค์การ”. เอกสารประกอบการสอน
รายวิชาองค์การและการจัดการ สาขาวิชานโยบายสาธารณะและการจัดการภาครัฐ ภาควิชาสังคมศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์
และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล.
Anderson, D. et al. (2000). Development of Knowledge about
Electricity and Magnetism During a Visit to a Science Museum and Related Post-Visit Activities. Science Education.
Barnett, C. K. (1994). Organizational Learning and Continuous
Quality Improvement in an Automotive Manufacturing Organization. Diss.
David, G. (1993). Building a Learning Organization. Harvard Business
Review. (July-August 1993) : 78-91.
Krejcie, R. V. & Morgan, D. W. (1970). Determining Sample Size for
Research Activities. Educational and Psychological Measurement, 30(3), 607-610.

Malhotra, Y. (2000). “Knowledge management for e-business
performance: advancing information strategy to internet time”. The Executive's Journal 16,4 Information Strategy.
Malcolm, K. (1980). Andragogy Theory. 12 March 2018 (Online) retrieval :
http://www. baanjomyut.com/library/theory_of_ malcolm_knowles/
Nonaka, I., & Takeuchi, H. (1995). The Knowledge-Creating Company:
How Japanese Companies Create the Dynamics of Innovation. New York: Oxford University.

Translated Thai References
Boonyakit, B. et, al. (2004). Knowledge Management Theory of
Practices. Bangkok. Jirawat express.
Chareonwongsak, K. (2004). University Graduate Development The
Direction Should be to Promote Sustainable International Competitiveness. Bangkok: Suan Dusit Rajabhat University.
Executive Development Program Mahidol University. (2012). Situation
and Trends in Knowledge Management in Mahidol University. Mahidol University. Nakhon Pathom.
Faculty of Social Sciences and Humanities, Mahidol University. (2015).
History. [Online]. Retrieved on May 12, 2015. From http://www.sh.mahidol.ac.th.
Jarueksil, Y. T. and Nuntarat, C. (2017). Management Strategies of Higher
Education Institutions According to the Concept of Green University, Governance Journal 6 (2)
Kawpom. N. (2008). Organizational Culture and Knowledge
Management of Maejo University. Master of Public Administration Program in Public Administration. Chiang Mai University.
Mahidol University. (2015). Educational Criteria for Performance
Excellence 2015 : EdPEx. Mahidol University. Nakhon Pathom.
Ministry of Education. (2015). Knowledge Management. [Online].
Retrieved on May 2, 2015. From http://www.moe.go.th
Panit, W. (2004). Knowledge management for a balanced quality.
Bangkok: The Institute for Knowledge Management.
Panit, W. (2005). Knowledge management with Thai public
administration. Bangkok: The Institute for Knowledge Management.
Pattarakornnan, N. (2016). Science and Art of Teaching Andragogy.
Education Journal, 14 (2): 40-52.
Pawin, N. (2004). Knowledge management with knowledge store.
Bangkok: SR PRINTING MASS PRODUCTS CO., LTD.
Phasukyud, P. (2005). Knowledge management...to the future, the
dream of the Institute to promote knowledge management. [Online]. Retrieved on November 25, 2015. From http://www.kmi.or.th/ KMI_doc2.html
Sirisanhiran, S. (2015). Theory of Organization. Teaching and Learning
Materials Public Policy and Public Management Department of Social Sciences Faculty of Social Sciences and the humanities, Mahidol University.

Sriwarom, M., Suwaporn, S. and Tanavat, S. (2017). A Model of Learning
Resources Management for Private Technological and Vocational College in Yasothon Province, Governance Journal 6 (1) : 346 – 378.
Wichenpanya, P. (2004). Knowledge Management: The Basics and
Applications. Bangkok: SuperNet.
Wijan, B. (2004). Knowledge Management..Practices. 3rd edition.
Bangkok. Tamkamon.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2018-06-30