กรอบนโยบายการจัดการโครงสร้างและกระบวนการ เพื่อมาตรฐานการครองชีพที่ดีของผู้สูงอายุ ในประเทศไทย

กรอบนโยบายการจัดการโครงสร้างและกระบวนการ เพื่อมาตรฐานการครองชีพที่ดีของผู้สูงอายุ ในประเทศไทย

ผู้แต่ง

  • Netenapist La-iad
  • Kasensan Chotinakornpun
  • Duanpen Teerawanviwat

คำสำคัญ:

กลยุทธ์การดำรงชีพ, สังคมผู้สูงอายุ, นโยบายผู้สูงอายุ

บทคัดย่อ

การศึกษากรอบนโยบายการจัดการโครงสร้างและกระบวนการเพื่อมาตรฐานการครองชีพที่ดีของผู้สูงอายุในประเทศไทย มีวัตถุประสงค์สำคัญเพื่อค้นหากลยุทธ์การดำรงชีพที่จะนำไปสู่การมีมาตรฐานการครองชีพที่ดีของผู้สูงอายุในประเทศไทย ได้ประยุกต์ใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพ โดยวิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลแบบผสมผสาน (mixed-mode of data collection) ได้แก่ การสัมภาษณ์เชิงลึก การสัมภาษณ์เชิงกลุ่ม ร่วมกับการวิจัยเอกสาร คือ นโยบายและการดำเนินงานเกี่ยวกับผู้สูงอายุในประเทศไทย ผลการศึกษาพบว่าการดำเนินงานเพื่อสนับสนุนการดำรงชีพของผู้สูงอายุในระยะต่อไป เป็นสิ่งที่ทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้องจำเป็นจะต้องบูรณาการร่วมกัน โดยต้องการวิเคราะห์แยกแยะบริบทด้านความเปราะบางที่นับเป็นความเสี่ยงในการดำรงชีพของผู้สูงอายุ  และเสนอให้มีการจำแนกออกเป็น “ความเสี่ยงหรือปัญหาที่สามารถป้องกันแก้ไขได้ด้วยตัวผู้สูงอายุ/ครอบครัว” ผ่านการใช้กลยุทธ์ในการดำรงชีพของผู้สูงอายุ และ “ความเสี่ยงที่ต้องป้องกันแก้ไขโดยระบบ” ที่จะต้องใช้มาตรการชุมชน และนโยบายของรัฐบาลในการเข้ามารับมือ

คำสำคัญ : กลยุทธ์การดำรงชีพ; สังคมผู้สูงอายุ; นโยบายผู้สูงอายุ

 

Downloads

Download data is not yet available.

References

กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์. 2554. พระราชบัญญัติกองทุนการออมแห่งชาติ, พ.ศ.2554.
กุศล สุนทรธาดา. 2553. คุณค่าด้านเศรษฐกิจของผู้สูงอายุไทย. ใน สุชาดา ทวีสิทธิ์ และ สวรัย บุณยมานนท์ (บรรณาธิการ). ประชากรและสังคม 2553. คุณค่าผู้สูงอายุในสังคมไทย. เอกสารวิชาการสถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล หมายเลข 372. พิมพ์ครั้งที่ 1. นครปฐม: สำนักพิมพ์ประชากรและสังคม.
คณะกรรมการผู้สูงอายุแห่งชาติ, กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์. 2556. รายงานสถานการณ์ผู้สูงอายุไทย 2556. กรุงเทพฯ.
ทัชชวัฒน์ เหล่าสุวรรณ. (2560). การพัฒนารูปแบบการให้บริการสวัสดิการสังคม
ผู้สูงอายุ ผู้พิการและคนด้อยโอกาสทางสังคม พื้นที่ตำบลยางน้อย อำเภอโกสุมพิสัย จังหวัดมหาสารคาม, วารสารการบริหารปกครอง 6 (1)
วิภานันท์ ม่วงสกุล. 2558. วารสารวิจัยสังคม, ปีที่ 38 ฉบับที่ 2 (ก.ค.– ธ.ค. 2558) หน้า 93-112.
อรทัย อาจอ่ำ. 2553. แก่แล้วไม่มีคุณค่าจริงหรือ?.บทสังเคราะห์ความรู้เกี่ยวกับคุณค่าของผู้สูงอายุ. ใน สุชาดา ทวีสิทธิ์ และ สวรัย บุณยมานนท์ (บรรณาธิการ). ประชากรและสังคม2553. คุณค่าผู้สูงอายุในสังคมไทย. เอกสารวิชาการสถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล หมายเลข 372. พิมพ์ครั้งที่ 1. นครปฐม: สำนักพิมพ์ประชากรและสังคม.
Atchley, R. C. (1999). Continuity and adaptation in aging. Baltimore, MD: The John Hopkins University Press.
Blieszner, R., & Adams, R. G. (1992). Adult friendship. Newbury Park, CA: Sage Publications.
Carney, D. (1998). Implementing the sustainable rural livelihoods approach in. In D. Carney, Sustainable Rural Livelihoods: What contribution can we make? London: DFID.
Chambers, R., & Conway, R. (1992). Sustainable pural livelihoods: Practical concepts for the 21st century. IDS Discussion Paper, pp 296.
Cowgill, Donald O., & Lowell D. Holmes, eds. (1972). Ageing and modernization. New York: Appleton-Century-Crifts.
Cumming, & Henry, W. E. (Eds). (1961), Growing old: The process of disengagement. New York: Basic Books.
DFID. (1999). Sustainable livelihoods guide sheets. London: DFID.
Havighurst, R. J. (1968). Disengagement and patterns of ageing. Chicago: Chicago University Press.
Krantz, L. (2001). The sustainable livelihood approach to poverty
reduction: An introduction. Maria Wibom-Willén: Swedish International Development Cooperation Agency.

Translated Thai References
Ard–am, Orathai. (2010). Getting aged, getting devalued? : A
synthesis about the value of the elderly. In Suchada Thaweesit & Sawarai Boonyamanond (Eds.). , IPSR Annual Report 2010: Value of the elderly from the eyes of Thai society. (Publication no. 372). Nakhon Pathom: Institute for Population and Social Research, Mahidol University.

Laosuwan, T. (2017). Developing a Model of the Social Welfare Services
for the Elders and Disabilities in Yang Noi Sub-district, Kosumpisai District, Maha Sarakham Province, Governance Journal 6 (1)
Ministry of Social Development and Human Security. (2011). The National Savings Fund, 2012.
Muangsakul, Wipanun. (2015). The concept of active ageing and capacity development of ageing living alone. Journal of Social Research, 38, 2 (Jul.– Dec.), 93-112.
National Commission on the Elderly. (2010). Situation of Thai elderly 2010. Bangkok: Office of Welfare Promotion, Protection and Empowerment of Vulnerable groups, Ministry of Social Development and Human Security.
Soonthorndhada, Kusol. 2010. The Economic Value of Thai Elderly. In Suchada Thaweesit & Sawarai Boonyamanond (Eds.), IPSR annual report 2010: Value of the elderly from the eyes of Thai society. (Publication no. 372). Nakhon Pathom: Institute for Population and Social Research, Mahidol University. (In Thai).

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2018-06-30