การพัฒนารูปแบบการแก้ไขปัญหาการขาดทุนขององค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ (ขสมก.)

การพัฒนารูปแบบการแก้ไขปัญหาการขาดทุนขององค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ (ขสมก.)

ผู้แต่ง

  • Narong Wongsakul
  • Krisada Tanpao

คำสำคัญ:

รูปแบบการแก้ไขปัญหา, การขาดทุน, องค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา สภาพปัญหาการขาดทุน, พัฒนารูปแบบการแก้ไขปัญหาการขาดทุน และ ประเมินตรวจสอบยืนยันรูปแบบการพัฒนารูปแบบการแก้ไขปัญหาการขาดทุนขององค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ (ขสมก.) ใช้วิธีวิจัยแบบผสมผสานวิธี ในการดำเนินการวิจัยแบ่งออกเป็น 3 ระยะ ผลการวิจัยพบว่า 1. สภาพปัญหาการขาดทุน พบว่า 1) นโยบายและวัตถุประสงค์ที่ไม่สอดคล้องกัน 2) การสนับสนุนทางการเงินจากภาครัฐไม่เพียงพอ และ 3) ปัญหาคุณภาพการบริการและ 4) มีต้นทุนการประกอบการด้านบุคลากรสูง  2. การพัฒนารูปแบบการแก้ไขปัญหาการขาดทุน ประกอบด้วยองค์ประกอบ 3 องค์ประกอบ ได้แก่ 1) การกู้เงินเพื่อปรับโครงสร้างหนี้  2) การปฏิรูประบบรถโดยสารประจำทาง และ 3) การลดจำนวนพนักงาน และ 3. การประเมินตรวจสอบยืนยันรูปแบบโดยการจัดสนทนากลุ่มผู้เชี่ยวชาญ พบว่ามีความเป็นไปได้และความเหมาะสมในการใช้แก้ไขปัญหาการขาดทุนขององค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ (ขสมก.)

คำสำคัญ: รูปแบบการแก้ไขปัญหา; การขาดทุน; องค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ

References

ทวีศักดิ์ นพเกษร. (2548). วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ เล่ม 1 คู่มือปฏิบัติการวิจัย
ประยุกต์เพื่อพัฒนาองค์การสังคม. นครราชสีมา: โชคเจริญมาร์เกตติ้ง จำ
ธงชัย สันติวงษ์. (2543). กลยุทธ์และนโยบายธุรกิจ. กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนาพานิช.
ธีรยสถ์ ปานกลาง. (2548). ปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมการใช้รถโดยสารประจำทาง
ภายใต้การกำกับดูแลขององค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ (ขสมก.) ในกรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์ปริญญาเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ธุรกิจ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
ประสิทธิ์ เขียวศรี. (2544). การนำเสนอแบบจำลองการพัฒนาภาวะผู้นำของ
ผู้บริหารโรงเรียนที่บริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน, วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาบริหารการศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
พนิดา ทองสุข. (2559). การวิเคราะห์ต้นทุนประกอบการขนส่งรถโดยสารประจำ
ทางขององค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพเปรียบเทียบกับรถเอกชนร่วมบริการ. วิทยานิพนธ์ปริญญาบัญชีมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยศรีปทุม.
วุฒิชัย อารักษ์โพชฌงค์ พรชัย เทพปัญญา และ สมบูรณ์ ศิริสรรหิรัญ. (2560). การ
ประเมินและทบทวนสถานภาพการดำเนินงานขององค์การไม่แสวงหาผลกำไรประเภทศาลเจ้าในความปกครองของกระทรวงมหาดไทย, วารสารการบริหารปกครอง 6 (2)
ศิริชัย กาญจนวาสี. (2550). ทฤษฎีการประเมิน. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่ง
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี. (2560). มติคณะรัฐมนตรีเรื่อง ขออนุมัติกู้เงินเพื่อ
ปรับโครงสร้างหนี้ที่จะครบกำหนดในปีงบประมาณ 2560 เพิ่มเติมขององค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ.(ออนไลน์), สืบค้นเมื่อ 14 มีนาคม 2560, จาก https://cabinet.soc.go.th/soc/Program2-3.jsp?top_serl=99323404
องค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ. (2560). บทบาทหน้าที่ขององค์การขนส่งมวลชน
กรุงเทพจากรายงานประจำปี 2558. กรุงเทพฯ: รายงานประจำปี องค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ.
อิทธิพงษ์ เขมะเพชร และลักขณา คิดบรรจง. (2557). “ปัญหาการดำเนินงานของ
ระบบขนส่งมวลชนและแนวทางการแก้ไข”. วารสารวิชาการ
พระจอมเกล้าพระนครเหนือ, 24(2): 335.
Bangkok Mass Transit Authority, “Annual Report 2011,” 2011 (in Thai).
Cronbach, Lee J. (1970). Essentials of Psychological Testing. 3rded.,
New York: Harper and Row.
Eisner, E. (1976). “Educational Connoisseurship and Criticism: their form
and Function in Educational Evaluation”. Journal of Aesthetic Education, 10(3/4): 135-150.
Madaus, G.F., Scriven, M.S.; & Stufflebeam, D.L. (1983). Evaluation
Models Viewpoints on Educational and Human Services Evaluation. 8thed., Boston: Khuwer-Nijhoff Publishing.
World Bank. (2007). “Strategic Urban Transport Policy Directions for
Bangkok,” June. [site resources. worldbank.org/.../2007june_bkk-urban-transport-directions.pdf]

Translated Thai References
Arakpothchong, W., Pornchai, D. and Somboon S. (2017). The Evaluation
and Review of Operational Status of
the Shrines, Nonprofit Organization under the Ministry of
Interior’s Rule, Governance Journal 6 (2)
Bangkok Mass Transit Authority. (2017). Role and Function of Bangkok
Mass Transit Authority, Annual Report 2015. Bangkok: Bangkok Mass Transit Authority
Kanjanawasi, S. (2007). Evaluation Theory. Bangkok: Chulalongkorn
University
Khemaphet, I. and Lakkhala, K. (2014). Performance Problem and
Solving Guideline of Mass Transportation System. Journal of King Mongkut's University of Technology North Bangkok, 24 (2): 335.
Kheawsri, P. (2001). Model Presentation in Leadership Development
of School Administrator Based on School Administration. Dissertation of Doctor in Educational Administration, Chulalongkorn University.
Panklang, T. (2005). Factors Affecting Bus Service User Behaviour
Under Bangkok Mass Transit Authority (BMTA) in Bangkok Area. Thesis of Master of Economics in Business Economics Program, Kasetsart University.
Nobkesorn, T. (2005). Qualitative Research Methodology Volume 1
Operation Guideline in Applied Research for developing Social Organization. Nakhon Ratchasima: Chokcharoen Marketing Company Ltd,.
Santiwong, T. (2000). Business Policy and Strategic. Bangkok:
Thaiwattana Phanich
Thongsuk, P. (2015). Comparison Cost Analysis of Bus
Enterpreneurship Between Bangkok Mass Transit Authority (BMTA) and Service Joint Private Bus, Thesis of Master in Accounting, Sripathum University.
The Secretariat of Cabinet. (2007). The Cabinet Resolution, To
Approve the loan to Restructure Dept as It Would be Due in the Fiscal Year 2017 of the Bangkok Mass Transit Authority. Accessed 14 March 2017, Retrieved form https://cabinet.soc.go.th/soc/Program2-3.jsp?top_serl=99323404

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2018-06-30