แนวทางการสร้างประสิทธิภาพเพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของอุตสาหกรรมแปรรูปผลิตภัณฑ์จากโลหะในเขตพื้นที่กรุงเทพมหานครและปริมณฑล

แนวทางการสร้างประสิทธิภาพเพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของอุตสาหกรรมแปรรูปผลิตภัณฑ์จากโลหะในเขตพื้นที่กรุงเทพมหานครและปริมณฑล

ผู้แต่ง

  • Teerapot Padungtham
  • Krisada Tanpao

คำสำคัญ:

อุตสาหกรรมแปรรูป, ผลิตภัณฑ์จากโลหะ, ประสิทธิผล

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้วัตถุประสงค์เพื่อวางแผนกลยุทธ์ และเสนอแนะแนวทางการพัฒนาขีดความสามารถ และศักยภาพในการแข่งขันของอุตสาหกรรมแปรรูปผลิตภัณฑ์จากโลหะในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล เป็นการวิจัยแบบผสมวิธีระหว่างการวิจัยเชิงปริมาณ และการวิจัยเชิงคุณภาพ ผลการวิจัยพบว่า ปัจจัยด้านผลิตภัณฑ์มีความสำคัญมากที่สุดในปัจจัยส่วนประสมการตลาด 7 Ps,  เทคโนโลยีการผลิตมีความสำคัญมากที่สุดในส่วนปัจจัยสนับสนุนด้านเครื่องจักร และประสิทธิผลมีความสำคัญมากที่สุดในส่วนของศักยภาพในการแข่งขัน ซึ่งผู้วิจัยนำข้อมูลที่ได้มาจัดทำแนวทางทางการสร้างประสิทธิภาพเพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันในอุตสาหกรรมแปรรูปผลิตภัณฑ์จากโลหะในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลประกอบด้วย 7 แนวทาง และแผนกลยุทธ์การพัฒนาซึ่งประกอบด้วย 7 กลยุทธ์เช่นกัน

คำสำคัญ : อุตสาหกรรมแปรรูป, ผลิตภัณฑ์จากโลหะ, ประสิทธิผล

 

Downloads

Download data is not yet available.

References

กิตติพันธุ์ บางยี่ขัน. (2551). โลหะกับการพัฒนาประเทศ. กรุงเทพฯ: กลุ่ม
อุตสาหกรรมพื้นฐาน 1 สำนักอุตสาหกรรมพื้นฐานกรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่.
บริษัท นิธิเอ็นจิเนียริ่งแอนด์คอนสตรัคชั่น จำกัด. (2560). รายงานประจำปี 2560.
กรุงเทพฯ: บริษัท นิธิเอ็นจิเนียริ่งแอนด์คอนสตรัคชั่น จำกัด.
ยุทธศักดิ์ คณาสวัสดิ์. (2554) “บทความพิเศษ เรื่องเรียนรู้กลยุทธ์การแข่งขันจากดร.พอร์เตอร์”. วารสารส่งเสริมการลงทุน BOI. 22(11).
วิรัช อยู่ชา และคณะ (2554). “การศึกษาการพัฒนาเทคโนโลยีและกำลังคนเพื่อ
เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของอุตสาหกรรมไทย (เครื่องจักรกล)”.
วารสารวิชาการพระจอมเกล้าพระนครเหนือ. 21(2).
ศิริวรรณ เสรีรัตน์. (2541). พฤติกรรมผู้บริโภค. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ:
สามัคคีสาร (ดอกหญ้า).

สุพานี สฤษฎ์วานิช. (2553). การบริหารเชิงกลยุทธ์: แนวคิดและทฤษฎี. กรุงเทพฯ:
โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
อัญวรรณ พรพรหมรักษ์ จรัญญา ปานเจริญ และอดิลล่า พงศ์ยี่หล้า. (2560). ระดับ
การส่งผลระหว่างการรับรู้คุณประโยชน์โครงการความรับผิดชอบต่อสังคม ความไว้วางใจของลูกค้า และลักษณะทางประชากรศาสตร์ต่อการรับรู้คุณค่าตราของรัฐวิสาหกิจสาธารณูปโภคด้านพลังงานไฟฟ้า, วารสารการบริหารปกครอง 6 (2)
Greg, W. M.; & Mark, W. J. (2010). Marketing management. New York:
McGraw-Hill.
Krejcie, R. V.; & Morgan, D. W. (1970). “Determining Sample Size for
Research Activities”. Educational and Psychological Measurement. 30(3): 607-610.

Translated Thai References
Bangyeekhan, K. (2008). Metal on the Development of Country.
Bangkok: Basic Industries Division 1, Basic Industries Bureau, Department of Primary Industries and Mines
Khanasawat, Y. (2011). Special Paper Topic Competitive Strategic
Learning from Dr. Porter. BOI Journal, 22 (11)
Niti Engineering and Construction Co., Ltd. (2017). Annual Report 2017.
Bangkok: Niti Engineering and Construction Co., Ltd.
Phornphormmarak A., Charunya, P.and Adilla, P. (2017).The Impact
Level Between Perceived Relative Advantage of Corporate Social Responsibility (CRS Project) and Customer Trust in Term of Demographic Characteristics and Brand Quality of State-Enterprises in Electricity, Governance Journal 6 (2)
Saritwanich, S. (2010). Strategic Management: Concept & Theory.
Bangkok: Thammasart University
Sereerat, S. (1998). Customer Behavior. 2nd, Bangkok: Samakkeesan
(Dok Yah).
Yoocha, W. et al. (2011). A Study Project of Technology and Manpower
Development for Enhancing Competitiveness of Thai Industry
(Machinery), The Journal of KMUTNB., 21 (2)

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2018-06-30