การกำหนดนโยบายของภาครัฐในการบริหาร เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษจังหวัดสระแก้ว

การกำหนดนโยบายของภาครัฐในการบริหาร เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษจังหวัดสระแก้ว

ผู้แต่ง

  • Urachanok Kongklam

คำสำคัญ:

โยบายของภาครัฐ, เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ, จังหวัดสระแก้ว

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้วัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาการกำหนดนโยบายและการนำไปปฏิบัติในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษจังหวัดสระแก้ว ซึ่งเป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative research) ด้วยการสัมภาษณ์เชิงลึก การสังเกตการณ์แบบมีส่วนร่วม และแบบไม่มีส่วนร่วม และจัดการสนทนากลุ่ม ในกระบวนการวิเคราะห์การรวบรวมข้อมูลใช้การวิเคราะห์เนื้อหา และนำข้อมูลที่ได้มาตรวจสอบ ความสมบูรณ์ของข้อมูลโดยใช้วิธีการวิเคราะห์แบบสามเส้า ผลการวิจัยมีข้อค้นพบดังนี้ 1. การกำหนดนโยบายและการนำไปปฏิบัติเป็นการสั่งการจากผู้กำหนดนโยบายระดับสูงคือนายกรัฐมนตรี 2. หน่วยงานภาครัฐระดับจังหวัดที่บริหารงานในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษขาดอิสระในการปฏิบัติงาน ต้องรอคำสั่งและทิศทางการปฏิบัติงานจากส่วนกลาง 3. ประชาชนไม่มีส่วนร่วมในการกำหนดนโยบาย รัฐบาลเป็นผู้กำหนดและประชาชนรอรับผลของนโยบายที่กำหนด 4. เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษยังไม่มีเจ้าภาพหลักหรือหน่วยงานเฉพาะที่รับผิดชอบ การสั่งการจึงขาดผู้รับผิดชอบโดยตรง 5. จังหวัดสระแก้วเป็นจังหวัดชายแดนที่มีความสัมพันธ์ระหว่างไทย-กัมพูชา จึงต้องพัฒนาเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษควบคู่ไปกับการค้าชายแดน 6. แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านระบบประปายังไม่ชัดเจน ซึ่งอาจนำไปสู่ปัญหาในอนาคต

คำสำคัญ : นโยบายของภาครัฐ; เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ; จังหวัดสระแก้ว

Downloads

Download data is not yet available.

References

พรพิมล ปลั่งศรีสกุล และคณะ. (2560). การนำนโยบายด้านแรงงานไปปฏิบัติในการ
เข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนของประเทศไทย, วารสารการบริหารปกครอง 6 (2)
สมศักดิ์ ศรีสันติสุข. และคณะ. (2560). เงื่อนไขการสร้างเครือข่ายความร่วมมือ
ระหว่างผู้ประกอบการธุรกิจ (SMEs) และภาคส่วนอื่นๆ เพื่อรองรับการเป็นเขตเศรษฐกิจพิเศษหนองคาย, วารสารการบริหารปกครอง 6 (1)
สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2559).
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12. กรุงเทพฯ : สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ.
สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน. (2559). การลงทุนในเขตเศษฐกิจพิเศษ.
คู่มือ. กรุงเทพฯ : สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน.

สำนักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ. (2559). การมีส่วนร่วมของ
ประชาชนในการกำหนดแนวเขตที่ดินของรัฐ. รายงานการศึกษาวิจัย, สำนักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ.
Anderson, Charles W. (1994). Public Policy-Making. An Introduction.
2nd.ed. New York. Houghton Mifflin Company.
Anderson, J. (2006). Emergence of Schools of Public Policy: Reflection
by a Founding Dean. In The Oxford Handbook of Public Policy. Edited by Michael Moran Martin Rein E. Goodin. Lodon: Oxford University Press.
Dye, T. R.(1984). Understanding Public Policy. 5th.ed. Englewood
Cliffs, New Jersey: Prentice-Hill, Inc.
Lasswell, H. D. (1963). The Future of Political Science. New York: Atherton.(1970).“The Emerging Conception of the Policy Science”,
Policy Science,1.
Pressman, J.L.& Wildavsky, A.(1973). Implementation. 3rd ed. Berleley:
University of California Press.
Riggs, F. W. (1971). The context of Development Administration. In
Riggs,Fred W.,ed. Frontiers of Development Administration.Tennessee: Duke University Press.
Sabatier, P. A. & Mazmanian, D. A. (1981). “The Implementation of
Public Policy: A Framework of Analysis,” in Mazmanian D.A.& Sabatier P.A.Swappa, Sinha.(2007). Comparative Analysis of FDI in China and India: Can Laggard learn from Leaders?. Doctoral dissertations, Gate University.

Translated Thai References
Board of Investment. (2016). Investment in Special Economic Zone.
Guideline. Bangkok: Board of Investment.
Office of the National Economic and Social Development Board. (2016).
the National Economic and Social Development Plan Volume 12. Bangkok: Office of the National Economic and Social Development Board.
Office of the National Human Rights Commission. (2016). People's
participation in defining the state land boundaries, Research Report. Office of the National Human Rights Commission.
Plangsriskul, P. et al. (2017). Implementation of Thai Labour Policy In
Integrating into Asean Economic Community, Governance Journal 6 (2)
Srisontisuk, S. et al. (2017). The conditions of a collaborative network
between small micro enterprises (SMEs) and other sectors in Nong Khai province on devoted special economic zones, Governance Journal 6 (1)

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2018-06-30