การปรับโครงสร้างการบริหารราชการของกระทรวงศึกษาธิการตามคำสั่งหัวหน้า คณะรักษาความสงบแห่งชาติ ที่ 10/2559

การปรับโครงสร้างการบริหารราชการของกระทรวงศึกษาธิการตามคำสั่งหัวหน้า คณะรักษาความสงบแห่งชาติ ที่ 10/2559

ผู้แต่ง

  • Ratchaphon Phutaraksa

คำสำคัญ:

การบริหารราชการ, กระทรวงศึกษาธิการ, การปรับรื้อโครงสร้าง

บทคัดย่อ

การศึกษาวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อ 1) ศึกษาปัญหา และแนวทางแก้ไขปัญหาการดำเนินการปรับโครงสร้างการบริหารราชการตามคำสั่งหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติที่ 10/2559 การวิจัยนี้เป็นการวิจัยแบบเชิงคุณภาพดำเนินการเก็บข้อมูลโดยการสัมภาษณ์เชิงลึกและสังเกตการณ์แบบมีส่วนร่วม รวมทั้งการรวบรวมข้อมูลจากเอกสารวิจัยที่เกี่ยวข้อง ทำการวิเคราะห์ข้อมูลด้วยการวิเคราะห์เนื้อหา และหาความสอดคล้องระหว่างข้อมูลและผลการศึกษาวิธีการแบบสามเส้า ผลการวิจัยสรุปเป็นประเด็นดังนี้ 1) ความคล่องตัวจากการสั่งนโยบายโดยตรงจากรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ 2) ปัญหาความล่าช้าในกระบวนการพิจารณาทางกฎหมาย  โดยเฉพาะการจัดทำร่างกฎหมายที่เกี่ยวข้อง 3) คณะกรรมการศึกษาธิการไม่มีความเป็นอิสระและไม่มีเอกภาพในการทำงาน มีหน้าที่เป็นเพียงแค่การรวมงานนโยบายและวิชาการของกรรมการเขตพื้นที่การศึกษาและงานบริหารบุคคลของเขตพื้นที่การศึกษามาไว้ที่ศึกษาธิการจังหวัด 4) การจัดตั้งศึกษาธิการภาคเป็นการสิ้นเปลืองงบประมาณ หน่วยงานทางการศึกษาทำงานซ้ำซ้อนกัน 5) การคัดเลือกกรรมการตัวแทนประชาชนและครูยังไม่มีความชัดเจน กรรมการผู้แทนข้าราชการครูในท้องถิ่นไมเป็นการสะท้อนตัวแทนอย่างแท้จริงของครูในพื้นที่ และ 6) นโยบายที่สั่งลงสู่ผู้ปฏิบัติเป็นการนำหลักสูตรนำมาจัดการเรียนการสอน ในแต่ละหน่วยงานได้นำนโยบายไปปฏิบัติทำให้เกี่ยวข้องกับตัวผู้เรียนและทำให้ส่งผลทางการศึกษาโดยตรงต่อผู้เรียน        

คำสำคัญ : การบริหารราชการ, กระทรวงศึกษาธิการ, การปรับรื้อโครงสร้าง

Downloads

Download data is not yet available.

References

พินิจ บุญเลิศ. (2558). บทบาทผู้ว่าราชการจังหวัดไทยในการบริหารการ
เปลี่ยนแปลง. วารสารวิชาการ Veridian E-Journal, Sipakorn University. 8 (1).
วรงค์ เดชกิจวิกรม. (2559). ความคิดเห็นจากฝั่งนักการเมืองเกี่ยวกับ ม.44 ปรับ
โครงสร้าง ศธ.ส่วนภูมิภาค. (ออนไลน์). แหล่งที่มาจาก http://www.kroobannok.com/.(30 กรกฎาคม 2559)


วัชระ จตุพร และ ชญาพิมพ์ อุสาโห. (2560). กลยุทธ์การบริหารโรงเรียนทางเลือก
ตามแนวคิดการเสริมสร้างขีดความสามารถของพลเมืองปัจเจกชนนิยม,
วารสารการบริหารปกครอง 6 (2)
สมพงษ์ จิตระดับ. (2559). ปฏิวัติเงียบ!ยึดอำนาจเข้าศธ. (ออนไลน์).แหล่งที่มาจาก
http://www.thaipost.net, (30 กรกฎาคม 2559)
สัมฤทธิ์ ยศสมศักดิ์. (2549). รัฐประศาสนศาสตร์ : แนวคิดและทฤษฎี. กรุงเทพฯ :
เอ็กซเปอร์เน็ท.
สุมณฑา พรหมบุญ และ อรพรรณ พรสีมา. (2549). การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม,ใน
ทฤษฎีการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม : ต้นแบบการเรียนรู้ทางด้านหลักทฤษฎีและแนวปฏิบัติ .กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
อดิศร เนาวนนท์. (2559). หลากเสียงจากแม่พิมพ์กรณีใช้ ม.44 ย้อนกระจาย
อำนาจการศึกษากลับสู่ศูนย์กลาง. (ออนไลน์). แหล่งที่มาจาก
http://www.matichon.co.th/news/79333. (30 กรกฎาคม 2559)
Anderson, J. (2006). Emergence of Schools of Public Policy: Reflection
by a Founding Dean. In The Oxford Handbook of Public Policy. Edited by Michael Moran Martin Rein E. Goodin. Lodon: Oxford University Press.
Calista, D. J.(1994).“Policy Implementation,” in Stuart S. Nagel. Ed.
Encyclopedia of Policy studies. New York : Marcel Dekker, Inc.
Davila, M. P. (2003). Education Decentralization in Columbia: Where
do the Resources Go? [Online] Available from: http://www.lib.ume.com/dissertations/fullcit/ 9960571.
Sabatier,Paul A. & Mazmanian. Daniel A. (1981). “The Implementation
of Public Policy: A Framework of Analysis,” in Mazmanian D.A.& Sabatier P.A.

Translated Thai References
Boonlert, P. (2015). Thai Governor Role in Changing Administration.
Veridian E-Journal, Sipakorn University. 8 (1).
Dechjitwikrom, W. (2016). Politician Opinion to Use Chapter 44 for
Restructuring Provincial Education Administration. (Online), Retrieved on http://www.kroobannok.com/,(30 July 2016)
Jatuporn, W. and Chayapim U. (2017). Management Strategies of
Alternative Schools According to the Concept of Individualism Citizenship Capacity Building, Governance Journal 6 (2)
Jitradub, S. (2016). Silent Revolution! Determination in Ministry of
Education. (Online), Retrieved on http://www.thaipost.net, (30 July 2016)
Naowanon, A. (2016). Several Voices from Teacher After Use
Chapter 44 Back to Educational Decentralization to Central. (Online), Retrieved on http://www.matichon.co.th/news/79333., (30 July 2016)
Phormbun, S. and Onrapun, P. (2006). Participation Learning, In Theory
of Participation Learning: Learning Best Practices in Theory and Practical. Bangkok: Srinakarin University.
Yossomsak, S. (2005). Public Administration: Theory & Concept.
Bangkok: Expernet

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2018-06-30